Page 81 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 81

3-58





                   ตารางที่ 3 - 10 (ตอ)


                     หนวยดิน     ยางพารา     ปาลมน้ํามัน     เงาะ        ทุเรียน       มังคุด
                       178         S2cbp        S2gcbp        S2cbp        S2cbp         S2cbp
                       179           N            N             N            N             N
                       180         S2pk         S2gpk         S2pk          S2pk         S2pk

                        3.3.3 ดานเศรษฐกิจและสังคม

                             สืบเนื่องจากการเรงรัดพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในชวงทศวรรษที่ผานมา ไดนํา
                  ทรัพยากรธรรมชาติมาใชจํานวนมาก โดยที่ดินเปนปจจัยหลักในการผลิต และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
                  ของภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและบริการ สงผลใหเกิดปญหาที่ดินขึ้น 2 ประการ คือ (1) ปญหา

                  การใชที่ดิน และ (2) ปญหาการถือครองที่ดิน ซึ่งปญหาดังกลาวสงผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                  ของจังหวัดสุราษฎรธานี จําเปนตองกําหนดกฎเกณฑ โดยจัดทําแผนการใชที่ดินจังหวัดสุราษฎรธานีขึ้น

                  ซึ่งการจัดทําแผนการใชที่ดินจังหวัดดังกลาวจะตองวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ
                  และสังคมมาพิจารณารวมกับขอมูลดานอื่นๆ มีสาระสําคัญ ดังนี้

                             (1) ขอมูลทั่วไปดานเศรษฐกิจและสังคม
                                (1.1) ประชากรและโครงสรางประชากร

                                      ใน ป 2561 จังหวัดสุราษฎรธานีมีประชากร 1,063,501 คน เพิ่มขึ้น
                  อยางตอเนื่องจาก ป 2552 ในอัตรารอยละ 0.75 สูงที่สุดในกลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทยทั้ง 5 จังหวัด
                  ไดแก นครศรีธรรมราช สงขลา สุราษฎรธานี พัทลุง และชุมพร จากการคาดประมาณประชากรของ

                  จังหวัดสุราษฎรธานีในอนาคตถึง ป 2580 พบวาประชากรจะมีจํานวน 1,197,927 คน  (ตารางที่
                  3 - 11)

                                      ในสวนของครัวเรือนเกษตรภายในกลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทย ครัวเรือน
                  เกษตรมากที่สุด คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตามมาดวยจังหวัดสุราษฎรธานี จังหวัดสงขลา จังหวัด

                  ชุมพรและจังหวัดพัทลุง ตามลําดับ โดยคาเฉลี่ยการเพิ่มขึ้นของครัวเรือนเกษตรของจังหวัดสุราษฎรธานี
                  อยูในเกณฑปานกลาง เมื่อเทียบกับจังหวัดอื่นในกลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทย มีการเพิ่มขึ้นอยูรอยละ

                  4.19 (ตารางที่ 3 - 12)
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86