Page 87 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 87

5-7





                                (7) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรแต่ละสายการผลิต

                  เพื่อให้มีการอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ปรับปรุงกระบวนการและขั้นตอนการผลิต
                  เพื่อเป็นการเพิ่มคุณภาพและผลผลิตให้สูงขึ้น

                              3) เขตปลูกไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 106 ไร่ หรือร้อยละ 0.04 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่
                  ในเขตนี้เป็นพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวถึงดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง
                  เป็นดินลึก มีการระบายน้ าเลวถึงเลวมาก ความอุดมสมบูรณ์ของดินสูง มีความเหมาะสมระดับปานกลาง

                  ส าหรับการปลูกไม้ยืนต้น สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่ไม้ยืนต้น เช่น หมาก และสนประดิพัทธ์
                  ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในอ าเภอเมืองสมุทรสงคราม และอ าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ปรับปรุงบ ารุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ด้วยการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอก

                  ปุ๋ยหมัก หรือผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพ
                                (2) ควรจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ า เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ
                  รักษาความชุ่มชื้นของดิน เช่น การปลูกหญ้าแฝก
                                (3) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรแต่ละสายการผลิต

                  เพื่อให้มีการอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ปรับปรุงกระบวนการและขั้นตอนการผลิต
                  เพื่อเป็นการเพิ่มคุณภาพและผลผลิตให้สูงขึ้น
                                (4) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกร เพื่อเพิ่มอ านาจการต่อรอง

                  ในการขายผลผลิตให้ได้ราคายุติธรรม
                          2.3  เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่่า มีเนื้อที่ 447 ไร่ หรือร้อยละ 0.17

                  ของเนื้อที่จังหวัด เป็นพื้นที่ท าการเกษตรโดยอาศัยน้ าฝนในการเพาะปลูก บริเวณที่มีสภาพพื้นที่เป็น
                  ที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ปลูกพืชไร่ และไม้ผล ดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) และ
                  ไม่เหมาะสม (N) ส าหรับการท าการเกษตร เป็นเขตที่มีปัญหาด้านข้อจ ากัดของทรัพยากร รัฐจึงควร

                  ก าหนดให้เป็นพื้นที่เป้าหมายแรกในการเร่งรัดการแนะน าแนวทางการพัฒนาเกษตรกรรม เพื่อพัฒนา
                  ความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีขึ้น เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่ า สามารถแบ่งได้เป็น
                  2 เขตย่อย ได้แก่ เขตท านา และเขตปลูกไม้ผล โดยมีรายละเอียดดังนี้

                              1) เขตท านา มีเนื้อที่ 170 ไร่ หรือร้อยละ 0.07 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ในเขตนี้เป็น
                  พื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว เป็นดินลึกมาก การระบายน้ าเลวมาก ความ

                  อุดมสมบูรณ์ของดินต่ า ไม่มีความเหมาะสมส าหรับปลูกข้าว พื้นที่เขตนี้ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อ
                  การปลูกข้าวโดยอาศัยน้ าฝนเป็นหลัก ส่วนใหญ่พบในอ าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ควรมีการปรับปรุงบ ารุงดินโดยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่ม

                  ธาตุอาหารและปรับโครงสร้างของดิน
                                (2) ควรเร่งพัฒนาระบบชลประทานเพื่อปรับรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดิน จากการ
                  ปลูกพืชไร่มาเป็นการปลูกไม้ผลหรือพืชผัก
                                (3) ควรท าการเพาะปลูกพืชในช่วงระยะเวลาที่ดินมีความชื้นที่เหมาะส าหรับพืช
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92