Page 51 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 51

3-7





                  3.3  ทรัพยากรดิน


                      3.3.1 สถานภาพทรัพยากรดิน
                          1. ทรัพยากรดิน
                            ทรัพยากรดินของจังหวัดสมุทรสงคราม เป็นดินในพื้นที่ราบลุ่มทั้งหมด มีลักษณะพื้นที่
                  ราบน้ าทะเลท่วมถึง เกิดจากวัตถุก าเนิดดินพวกตะกอนทะเล หรือตะกอนน้ าผสมกับตะกอนทะเล พัฒนา

                  ในสภาพน้ ากร่อย มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีการแช่ขังของน้ า และมีระดับน้ าใต้
                  ดินอยู่ใกล้ผิวดินในช่วงฤดูฝน ดินมีการระบายค่อนข้างเลวถึงเลวมาก มีสีเทา สีเทาปนน้ าตาล สีเทาปน
                  เขียว สีเทาปนน้ าเงิน สีน้ าตาลปนเทา บางบริเวณพบจุดประสีเหลือง สีน้ าตาล หรือมีเปลือกหอยปะปน

                  อยู่ มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นด่างปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลางถึงสูง สามารถ
                  จ าแนกตามเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 4 กลุ่ม ดังนี้ (รูปที่ 3-4)
                            1) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเลน มีเนื้อดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง หรือดินเหนียวปนทราย
                  แป้ง เป็นดินเค็ม มีน้ าทะเลท่วมถึง ระดับน้ าใต้ดินขึ้นสูงเกือบถึงผิวหน้าดินตลอดปี ได้แก่ ชุดดินท่าจีน (Tc)

                            2) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินเหนียวปนทรายแป้ง ดินล่างเป็นดิน
                  เหนียว ที่ระดับความลึก 1.0 - 1.5 เมตร จะพบรอยไถลในดินล่าง พบดินเลนสีน้ าเงินที่มีก ามะถันต่ า
                  มีเปลือกหอยปะปนอยู่ ได้แก่ ชุดดินบางกอก (Bk)
                            3) กลุ่มเนื้อดินที่มีการยกร่อง เป็นการปรับเปลี่ยนสภาพพื้นที่ลุ่มหรือนาข้าว เพื่อใช้

                  ส าหรับปลูกพืชผักหรือไม้ผล ได้แก่ ชุดดินด าเนินสะดวก (Dn) ชุดดินสมุทรสงคราม (Sso) ชุดดินธนบุรี (Tb)
                            4) พื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า (AQ) นาเกลือ (SF) พื้นที่ชุมชนและสิ่ง
                  ปลูกสร้าง (U) และพื้นที่น้ า (W)
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56