Page 49 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 49

3-5





                      3. คุณภาพน้้าใต้ดิน

                        ในการศึกษาคุณภาพน้ าใต้ดินของจังหวัดสมุทรสงคราม พิจารณาจากปริมาณของแข็ง
                  ที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ า ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าเนื่องจากเล็กมาก (Tds) มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร
                  นอกจากนี้พิจารณาควบคู่กับอัตราการให้น้ า (Yield) มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง

                  ซึ่งรายละเอียดดังตารางที่ 3-3
                        จากการศึกษาพบว่า อัตราการให้น้ ามากกว่า 20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณ
                  ของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ ามากกว่า 1,500 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเนื้อที่มากที่สุด รองลงมาเป็นอัตรา
                  การให้น้ ามากกว่า 20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าระหว่าง
                  500-1,500 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล าดับ

                  ตารางที่ 3-3 คุณภาพและอัตราการให้น้้าของน้้าใต้ดินในจังหวัดสมุทรสงคราม


                                                                                  เนื้อที่
                                      ค้าอธิบาย
                                                                           ไร่              ร้อยละ

                   Yield >20, Tds <500                                    1,261              0.48

                   Yield >20, Tds >1,500                                 128,640            49.39

                   Yield >20, Tds 500-1,500                              128,311            49.27

                   Yield 10-20, Tds 500-1,500                             1,100              0.42

                   Yield 5-10, Tds >1,500                                 1,130              0.43

                                    ผลรวมทั้งหมด                        260,442             100.00
                  หมายเหตุ : Tds   คือ ปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า (มิลลิกรัมต่อลิตร)
                                 Yield คือ อัตราการให้น้ า มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง


                      4. ศักยภาพการพัฒนาน้้าใต้ดิน
                        จากข้อมูลคุณภาพน้ าบาดาล พบว่าในเบื้องต้นบริเวณที่มีศักยภาพในการพัฒนาน้ าใต้ดินด้วย
                  วิธีการขุดเจาะบ่อบาดาล คือบริเวณที่มีอัตราการให้น้ ามากกว่า 20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และมีค่า
                  ปริมาตรของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเนื้อที่ 1,261 ไร่ อยู่บริเวณ

                  อ าเภอเมืองสมุทรสงคราม และอ าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม มีรายละเอียดดังรูปที่ 3-3
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54