Page 97 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 97

3-27





                                                                                       
                                              ี่
                                                ี่
                                                                                                   ี
                  กระบวนการเรียนรูรวมกันของผูทเกยวของภายใต  การจัดการสิ่งแวดลอมและการทองเที่ยวอยางมสวน
                  รวมของทองถิ่น เพื่อมุงใหเกิดจิตสำนึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั้งยืน (3) การทองเที่ยวเชิง
                                                                           ิ
                  ธรณีวิทยา (Geo-tourism) หมายถึงการทองเที่ยวในแหลงธรรมชาตทีเปน หินผา ลานหินทราย อุโมงค 
                                                                            ่
                                                                       ี่
                  โพรง ถ้ำน้ำลอด ถ้ำหินงอกหินยอย เพื่อดูความงามของภูมทัศนทมีความแปลกของการเปลี่ยนแปลงของ
                                                                  ิ
                  พื้นที่โลก ศึกษาธรรมชาติของหิน ดิน แรตาง ๆ และฟอสซิล ไดความรูไดมีประสบการณใหม บนพื้นฐาน
                  การทองเที่ยวอยางรับผิดชอบ มีจิตสำนึกตอการรักษาสภาพแวดลอม โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวม
                  ตอการจัดการการทองเที่ยว (4) การทองเที่ยวเชิงเกษตร (Agro tourism) หมายถึงการเดินทาง
                                ื้
                  ทองเที่ยวไปยังพนทเกษตรกรรมสวนเกษตร วนเกษตร สวนสมุนไพร ฟารมปศุสัตวและเลี้ยงสัตวเพอชื่น
                                                                                                   ื่
                                  ี่
                  ชมความสวยงาม ความสำเร็จและเพลิดเพลินในสวนเกษตร ไดความรูมีประสบการณใหมบนพื้นฐาน
                  ความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกตอการรักษาสภาพแวดลอมของสถานที่แหงนั้น (5) การทองเที่ยวเชิงดารา
                  ศาสตร (Astrological tourism) หมายถึงการเดินทางทองเที่ยวเพื่อการไปชมปรากฏการณทางดารา
                  ศาสตรที่เกิดขึ้นในแตละวาระ เชน สุริยุปราคา ฝนดาวตก จันทรุปราคา และการดูดาวจักราศีที่ปรากฏ

                  ในทองฟาแตละเดือน เพื่อการเรียนรูระบบสุริยะจักรวาล มีความรูความประทับใจ ความทรงจำและ
                  ประสบการณเพิ่มขึ้น บนพื้นฐานการทองเที่ยวอยางมีความรับผิดชอบมีจิตสำนึกตอการรักษา
                  สภาพแวดลอมและวัฒนธรรมทองถิ่น โดยประชาชนในทองถิ่นมีสวนรวมตอการจัดการรวมกันอยาง
                  ยั่งยืน การทองเที่ยวไมวาประเภทใดลวนแตมีความสำคัญกอใหเกิดผลดีทางดานเศรษฐกิจ สังคม และ

                  วัฒนธรรม ชวยสรางงานสรางรายไดใหแกผูที่เกี่ยวของ จังหวัดสมุทรปราการ มีสถานที่ทองเที่ยวหลาย
                                                                 
                  แหงทั้งที่เปนสถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติและสถานที่ทองเที่ยวทางวัฒนธรรม
                             3.4.1.1 สถานที่ทองเที่ยวทางธรรมชาติ

                                   แหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ (Natural Attraction) หมายถึง สถานที่ที่เปดใช
                  เพื่อการทองเที่ยว โดยมีทรัพยากรธรรม ชาติเปนสิ่งดึงดูดใจใหนักทองเที่ยวมาเยือน ซ่ง
                                                                                                      ึ
                  ทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้อาจจะเปนความงดงามตามสภาพธรรมชาติ ความ แปลกตาของสภาพ
                                   ่
                                   ี
                  ธรรมชาติ สัณฐานทสำคัญทางธรณีวิทยาและภูมิศาสตรอนเปนเอกลักษณหรือเปนสัญลักษณ ของ
                                                                    ั
                  ทองถิ่น นั้น ๆ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่มีลักษณะพิเศษ (Special Environmental Features)
                  หรือสภาพแวดลอมที่มีคุณคาทางวิชาการก็ได ทางจังหวัดสมุทรปราการ มีสถานที่ทองเที่ยวทาง
                  ธรรมชาติ หลายแหง คือ


                             1) สวนสาธารณะ และสวนพฤกษชาติ ศรีนครเขื่อนขันธ (บางกระเจา)
                                                  ่
                                                  ี
                             สถานที่ทองเที่ยว อยูทตำบลบางกระเจา อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
                  ประวัติความเปนมา ในป พ.ศ. 2520 สมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรัฐมนตรี มีมติใหอนุรักษ 
                  พื้นที่เกษตรกรรมริมฝงแมน้ำเจาพระยาฝงตรงขางเขตคลองเตยยานนาวาใหเปนปอดกลางเมือง โดย
                  มอบหมายใหสำนักงานนโยบาย และแผนสิ่งแวดลอม(สผ) กระทรวงวิทยาศาสตร- เทคโนโลยีและ

                  สิ่งแวดลอม ซื้อที่สวนรกรางจากชาวบานใน ตำบลบางกระเจา 148 ไร เพื่อสรางสวนสาธารณะ ในป
                  พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯพระราชทานชื่อวา สวนศรีนคร
                  เขื่อนขันธ แปลวา สวนสาธารณะที่เปนศรีแกนครเขื่อนขันธ นอกจากนี้รัฐบาล ยังกำหนดใหพื้นที่ 6
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102