Page 102 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 102

3-32





                            3.4.1.2 สถานที่ทองเที่ยวทางวัฒนธรรม

                              ประชากรในจังหวัดสมุทรปราการมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและเผาพันธุอันเปน
                                                                                                  ี
                  ลักษณะเดนของจังหวัดที่สืบทอดมาแตโบราณกาล ประกอบดวยชนหลายเชื้อชาติ แตละเชื้อชาติมความ
                                                                              ้
                                                                          
                  แตกตางกันทางวัฒนธรรมและประเพณี แบงตามสายเชื้อชาติได ดังนี (องคการบริหารสวนจังหวัด
                  สมุทรปราการ, 2565)
                             1) วัดบางพลีใหญใน
                              วัดบางพลีใหญใน – ตั้งอยูริมคลองสำโรง ตำบลบางพลีใหญ เดิมชื่อวัดพลับพลาชัยชนะ
                  สงคราม สรางขึ้นในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยามาถึง 2 ครั้ง ในป พ.ศ.

                  2112 และ พ.ศ. 2310 สมเด็จพระนเรศวรไดทรงกอบกูอิสรภาพสูความเปนไทยอีกครั้งหนึ่ง จนอาณา
                                                  ี
                  เขตของประเทศ (สยาม) ขยายออกไปอกอยางกวางขวาง สวนชื่อตำบลบางพลีกเนื่องมาจากสมเด็จพระ
                                                                                    ็
                  นเรศวรไดทรงกระทำพิธีพลีกรรมบวงสรวงตามตำรับพิชัยสงครามเมอชนะสงคราม วัดพลับพลาชัยชนะ
                                                                          ื่
                                ่
                                ี
                  สงครามเปนวัดทอยูดานใน และมีวัดบางพลีใหญกลางอยูดานนอก ดังนั้นจึงเรียกวัดพลับพลาชัยชนะ
                  สงครามวา วัดบางพลีใหญใน เปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปองคใหญสมัยสุโขทัยปางมารวิชัย (สะดง
                                                                                                      ุ
                  มาร) องคพระเปนทองสัมฤทธิ์ทั้งองค หนาตักกวาง 3 ศอก 1 คืบ ลืมพระเนตร เปนพระประธานใน
                  โบสถเปนที่เลื่อมใสของประชาชนโดยทั่วไป วัดนี้จึงมีอีกชื่อวา วัดหลวงพอโต
                              ประวัติหลวงพอโต – ตามตำนานไดเลาสืบตอกันมาวา มีพระพุทธรูปสมัยลานชาง 3 องค  

                  ประกอบดวย หลวงพอวัดบานแหลม ปางอุมบาตร เปนองคพี่ หลวงพอโสธร ปางสมาธิ เปนองคกลาง
                  และหลวงพอโต ปางสมาธิ เปนองคใหญที่สุดแตเปนองคนองสุดทอง พระพุทธรูปทั้งสามไดแสดง
                  ปาฏิหาริยโดยการลอยน้ำมาจากทางเหนือ ลองมาตามแมน้ำเจาพระยาจนถึงตำบลหนึ่งก็แสดงองคให
                  ประชาชนเห็น ประชาชนมีความศรัทธาจึงอาราธนาพระพุทธรูปทั้งสามขึ้นจากน้ำ ดวยการพรอมใจกน
                                                                                                      ั
                  ฉุด แตฉุดเทาไรก็ไมขึ้นจนตองเกณฑจำนวนคนมาชวยกันฉุดถึงสามแสนคน พระพุทธรูปทั้ง 3 องคก็ไม 
                  ยอมขึ้นจากน้ำ ตอมาตำบลนี้จึงไดชื่อวา ตำบลสามแสน แลวกลายมาเปนสามเสนในปจจุบัน จนในทสุด
                                                                                                     ี่
                  องคพี่ คือ หลวงพอบานแหลมลอยไปตามแมน้ำแมกลอง แลวขึ้นประดิษฐานที่วัดบานแหลม จังหวัด
                  สมุทรสงคราม องคกลาง คือ หลวงพอโสธรกลับลอยทวนน้ำไปถึงวัดเสาทอน ริมฝงแมน้ำบางปะกง

                  จังหวัดฉะเชิงเทรา แลวขึ้นประดิษฐานที่วัดนี้ ภายหลังเปลี่ยนชื่อเปนวัดโสธรวรารามวรวิหาร สวนองค 
                  สุดทอง คือ หลวงพอโตไดลองลอยเรื่อยมาตามลำแมน้ำเจาพระยา และปาฏิหาริยลอยวกเขามาในลำ
                  คลองสำโรง ประชาชนจึงพรอมกันอาราธนาทานขึ้นที่ปากคลองสำโรง แตทานก็ไมยอมขึ้น จึงไดทำพิธี

                  เสี่ยงทาย ตอแพผูกชะลอกับองคทาน แลวใชเรือพายฉุดทานใหลอยตามลำน้ำสำโรงและอธิษฐานวา
                                                                       ี่
                  หากทานประสงคจะขึ้นโปรดทใดก็ขอจงไดแสดงอภินิหารใหแพทลอยมาจงหยุด ณ ที่นั้นเถิด จนแพลอย
                                           ี่
                  มาถึงบริเวณหนาวัดพลับพลาชัยชนะสงคราม หรือวัดบางพลีใหญใน ทานจึงหยุดนิ่ง ชาวบานจึงไดพรอม
                  ใจกันอาราธนาตั้งจิตอธิษฐานนำทานขึ้นจากน้ำไดในที่สุด และตอมาไดสรางพระอุโบสถสำหรับเปนท ่ ี
                  ประดิษฐานหลวงพอโตมาจนถึงปจจุบัน

                              นอกจากนี้ติดกับวัดบางพลีใหญในยังมีตลาดริมน้ำโบราณมีอายุยาวนานกวา 140 ป เปน
                  ตลาดขายของและรานอาหารริมน้ำที่มีมานาน ยังเปนตลาดน้ำที่มีชีวิต โดยการดำเนินชีวิตจริงยังคง
                  เหมือนเชนอดีต คือมีความเกื้อหนุนจุนเจือกันแบบสังคมไทยยุคกอน ๆ มีประเพณีวัฒนธรรมแบบ

                  พื้นบานที่ยังชวยกันรักษา ในตลาดยังมีสินคาดั่งเดิมขาย ไดแก กระตายขูดมะพราว ใตจุดไฟที่ทำจาก
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107