Page 96 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 96

3-26




                                                    ี่
                         ี
                         ่
                  ตารางท 3 - 11 ชั้นความเหมาะสมของทดินสำหรับขาว มะพราว มะมวง กลวย ขมิ้นและบัวบก ในเขต
                              พื้นที่เกษตรเขตชลประทาน จังหวัดสมุทรปราการ
                                                 ั
                                      
                                                         
                    หนวยที่ดิน   ขาวนาป  ขาวนาปรง  มะพราว    มะมวง     กลวย    ขมิ้นชัน    บัวบก
                   Bk-cAI         S1        S1         N          N        S3o         N         N
                   Bk-cAIM2       No        No         S1        S1         S1        S3o       S3o

                   Bp-cAI         S1        S1         N          N        S3o         N         N

                   Bp-cAIM2       N          N        S2n        S2sn      S2n        S3o       S3o

                   Bpg-cAI        N          N         N          N         N          N         N

                   Sm-cAI         S1        S1         N          N        S3o         N         N

                   Sm-cAIM2       N          N         S1        S1         S1        S3o       S3o

                  3.4  ทรัยากรอื่น ๆ

                                              ่
                      3.4.1 ทรัพยากรการทองเทยว
                                              ี
                             ทรัพยากรการทองเที่ยว หมายถึง สิ่งดึงดูดใจนักทองเที่ยวที่มีอยูในพนที่ใดพื้นที่หนึ่ง ตั้งแต
                                                                                     ื้
                  ในระดับทองถิ่น จนถึงระดับภูมภาค และระดับโลก อาจเปนสิ่งที่เกดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือเปนสิ่งท ี่
                          
                                                                         ิ
                                            ิ
                  มนุษยสรางขึ้นก็ได โดยสิ่งเหลานั้นจะตองมีความงดงามแปลกตา มความสำคัญหรือมีคุณคา รวมทั้งวิถ ี
                                                                          ี
                  การดำเนินชีวิตอันดีงามที่สะทอนใหเห็นถึงอารยธรรมอันทรงคณคา และมีลักษณะเดนเปนเอกลักษณ ก ็
                                           
                                                                     ุ
                                                                                                     
                                                                        
                                                                                                      ้
                                                                                                      ั
                  ถือเปนทรัพยากรการทองเที่ยว ประเทศไทยนับเปนประเทศที่ไดเปรียบเชิงภูมิศาสตร ทำเลที่ตง
                                                                            
                                                            ี่
                  ลักษณะภูมิประเทศ ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติทเอื้ออำนวยตอการทองเที่ยว โดยทั่วไปแลวทรัพยากร
                  การทองเที่ยวอาจแบงไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ (1) ทรัพยากรการทองเที่ยวประเภทธรรมชาติ ไดแก  
                  ทรัพยากรการทองเที่ยวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีความสวยงามแปลกตาตามสภาพทางภูมิศาสตร
                  และธรณีวิทยา เชน การกระทำของกระแสน้ำและคลื่นบริเวณชายฝง รวมทั้งพื้นที่ที่มนุษยเขาไปปรุงแตง
                  ธรรมชาติจนเกิดความสวยงามรมรื่น ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ไดแก ภูเขา ถ้ำ อุทยานแหงชาติ (2)
                               
                                   ี่
                                                                        
                                                                                ี่
                  ทรัพยากรการทองเทยวประเภทวัฒนธรรม ไดแก ทรัพยากรการทองเที่ยวทมนุษยแตละกลุมหรือชุมชน
                  ไดสรางขึ้น ประดิษฐคิดคน และยึดถือปฏิบัติกันเปนระยะเวลายาวนาน ทรัพยากรประเภทนี้แบง
                  ออกเปน ประเภทประวัติศาสตร โบราณสถาน ศาสนสถาน และประเภทศิลปะ ขนบธรรมเนียม
                                                                             ี
                  ประเพณี และกิจกรรมตาง ๆ (สำนักงานราชบัณฑิตยสภา, 2552) มรูปแบบการทองเที่ยวในแหลง
                  ธรรมชาติ (Natural based tourism) ประกอบดวย (1) การทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) หมายถึง
                  การทองเที่ยวในแหลงธรรมชาติทีมีเอกลักษณเฉพาะถิ่นและแหลงวัฒนธรรมที่เกี่ยวเนืองกับระบบนิเวศ
                                                                                         ่
                                              ่
                                                    ี่
                                                                                           
                                                                                               ี่
                  โดยมีกระบวนการเรียนรูรวมกันของผูที่เกยวของภายใตการจัดการสิ่งแวดลอมและการทองเทยวอยางม ี
                                                                                                  ี่
                                                                                              
                                     ื่
                                               ิ
                  สวนรวมของทองถิ่นเพอมงเนนใหเกดจิตสำนึกตอการรักษาระบบนิเวศอยางยั่งยืน (2) การทองเทยวเชิง
                                       ุ
                  นิเวศทางทะเล (Marine ecotourism) หมายถึงการทองเที่ยว อยางมีความรับผิดชอบในแหลงธรรมชาติ
                  ทางทะเลที่มีเอกลักษณเฉพาะถิ่น และแหลงทองเที่ยวที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนิเวศทางทะเล โดยม ี
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101