Page 34 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 34

2-12






                                                                                       ปริมาณน้ําฝน
                            มม.
                                                                                       การระเหยและคายน้ํา
                          350
                                                                                       0.5 การระเหยและคายน้ํา
                          300

                          250

                          200
                          150

                          100

                          50

                           0                                                                เดือน
                               ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.
                                                                ชวงน้ํามากพอ

                                        ชวงขาดน้ํา            ชวงเพาะปลูกพืช       ชวงขาดน้ํา


                  รูปที่ 2-5 สมดุลของน้ำเพอการเกษตร จังหวัดสมทรปราการ ป 2556 - 2565
                                                          ุ
                                       ื่
                  2.6  สภาพการใชทีดิน
                                     ่
                        2.6.1 สภาพการใชที่ดินทั่วไป
                                                                                                      ิ
                            จากขอมูลสภาพการใชที่ดินจังหวัดสมุทรปราการเมื่อนำมาวิเคราะหสภาพการใชที่ดน
                  พบวา มีการใชที่ดิน 5 ประเภท ไดแก พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ปาไม พื้นที่เบ็ดเตล็ด พื้นที่ชุมชนและสิง ่

                  ปลูกสราง และพื้นที่น้ำ โดยมีรายละเอียดตามตารางที่ 2-2 และรูปที่ 2-6 ซึ่งสรุปไดดังนี้
                            1) พื้นที่เกษตรกรรม มีเนื้อที่ 271,444 ไร หรือรอยละ 43.25 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก  
                  พื้นที่นา ไมยืนตน ไมผล พืชสวน/พืชผัก ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว พืชน้ำ
                  และสถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ เปนตน ซึ่งพื้นที่สวนใหญมีการใชประโยชนที่ดินเปนสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว

                  น้ำมากที่สุด รอยละ 38.20 ของเนื้อที่จังหวัด รองลงมาเปนนาขาว และไมผลผสม รอยละ 3.62 และ
                  0.46 ตามลำดับ
                            2) พื้นที่ปาไม มีเนื้อที่ 13,813 ไร หรือรอยละ 2.20 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่สวนใหญ 
                  เปนปาชายเลนสมบูรณ รอยละ 2.19 ของเนื้อที่จังหวัด และปาชาเลนรอสภาพฟนฟู รอยละ 0.01
                                     
                            3) พื้นที่เบ็ดเตล็ด มีเนื้อที่ 42,466 ไร หรือรอยละ 6.77 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่สวน
                  ใหญเปนพื้นที่ลุม รอยละ 4.27 ของเนื้อที่จังหวัด
                                                                                                 ่
                                                                                                 ี
                                                                                              ้
                            4) พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง มีเนื้อที่ 263,152 ไร หรือรอยละ 41.93 ของเนือทจังหวัด
                  ซึ่งพื้นที่สวนใหญเปนหมูบาน รอยละ 15.61 ของเนื้อที่จังหวัด
                            5) พื้นที่น้ำ มีเนื้อที่ 36,682 ไร หรือรอยละ 5.85 ของเนื้อที่จังหวัด ซึ่งพื้นที่สวนใหญเปน
                  แหลงน้ำธรรมชาติ รอยละ 5.64 ของเนื้อที่จังหวัด
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39