Page 39 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 39

2-17





                             3) พืชทางเลือกในอนาคต ไดแก มะพราวน้ำหอม และพืชสมุนไพร

                             (1) มะพราวน้ำหอม
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ้
                               ปจจุบันมะพราวน้ำหอมเปนสินคาเกษตรที่มีแนวโนมเปนที่ตองการของตลาดเพิ่มขน
                  เนื่องจากมีความโดดเดนดานรสชาติและกลิ่นที่เปนเอกลักษณ จึงเปนที่นิยมสำหรับผูบริโภค พื้นที่ปลูก
                  มะพราวน้ำหอมสวนใหญอยูในภาคกลาง โดยเฉพาะจังหวัดสมุทรสาคร นครปฐม ราชบุรีและฉะเชิงเทรา
                  อยางไรก็ตามจังหวัดสมุทรปราการเปนอีกหนึ่งพื้นที่ที่มีความเหมาะสมตอการปลูกมะพราวน้ำหอม
                  เนื่องจากมีสภาพทางภูมิศาสตรและสภาพอากาศทีใกลเคียงกันกับจังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งเปนแหลงผลิต
                                                            ่
                  มะพราวน้ำหอมคุณภาพดีของประเทศ อีกทั้งการปลูกมะพราวน้ำหอมเพื่อการคาในจังหวัด

                  สมุทรปราการยังไดรับการสงเสริมและสนับสนุนจากหนวยงานที่เกยวของในการพัฒนากระบวนการผลิต
                                                                        ี่
                  สินคามะพราวน้ำหอมใหมีคุณภาพไดมาตรฐานและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยการสงเสริมใหความรู  
                  และเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ เพื่อสรางอาชีพและรายไดใหแกเกษตรกรในพื้นทไดอยางยั่งยืน
                                                                                ี่
                             (2) พืชสมนไพร
                                      ุ
                               จากนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนใหมีการปลูกพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือก เพื่อสราง
                  รายไดใหกับเกษตรกร ซึ่งจังหวัดสมุทรปราการมีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรได  
                  กระจายอยูในเขตอำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอพระสมุทรเจดีย อำเภอบางพลี อำเภอบางบอ และ
                  อำเภอบางเสาธง โดยพืชสมุนไพรทีสามารถปลูกไดมีหลายชนิด เชน ขมิ้นชัน และบัวบก โดยพืชเหลานี  ้
                                               ่
                                                               ั้
                  เปนพืชที่ดูแลรักษางายสามารถปลูกจำหนายไดตลอดทงป อยางไรก็ตามในอนาคตหากทิศทางของตลาด
                  สมุนไพรขยายตัวเพมมากขึ้นจะชวยใหเกษตรกรผูปลูกพืชสมุนไพรมีรายไดและมีสภาพความเปนอยูที่ดีขน
                                  ิ่
                                                                                                    ึ้
                  2.7  ขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคม
                        2.7.1 ขอมูลดานสังคม

                             1) ประชากรและโครงสรางประชากร
                                จังหวัดสมุทรปราการ มีประชากรจากทะเบียนราษฎร (ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2565)
                  จำนวน 1,360,227 คน มีครัวเรือน 750,422 ครัวเรือน อำเภอที่มีประชากรมากที่สุด คือ อำเภอเมือง

                  สมุทรปราการ 540,847 คน คิดเปนรอยละ 39.76 ของประชากรทั้งจังหวัด และอำเภอบางเสาธง ม  ี
                  ประชากรนอยที่สุด 82,083 คน คิดเปนรอยละ 6.03 ของประชากรทั้งจังหวัด ในสวนของครัวเรือน
                                                                           ิ
                  อำเภอเมืองสมุทรปราการ มีครัวเรือนมากที่สุด 285,962 ครัวเรือน คดเปนรอยละ 38.11 ของครัวเรือน
                  ทั้งจังหวัด และอำเภอบางบอ มีครัวเรือนนอยที่สุด 55,135 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 7.35 ของครัวเรือน
                  ทั้งจังหวัด

                                จากการวิเคราะหขอมูลประชากร ความหนาแนน และคาเฉลี่ยตอที่ดินของจังหวัด
                  สมุทรปราการ ระหวางป 2555-2564 (ตารางที่ 2-3) พบวา จำนวนประชากรจังหวัดสมุทรปราการ ม ี
                                                                                             ี่
                  แนวโนมเพิ่มขึ้น คิดเปนรอยละ 1.20 คาเฉลี่ยที่ดินทั้งจังหวัด และคาเฉลี่ยที่ดินเฉพาะเนื้อทใชประโยชน
                  ทางการเกษตร มีแนวโนมลดลงในทิศทางเดียวกัน คาเฉลี่ยที่ดินทั้งจังหวัด มีแนวโนมลดลง คิดเปนรอย
                  ละ 1.27 และคาเฉลี่ยที่ดินเฉพาะเนื้อทใชประโยชนทางการเกษตร มีแนวโนมลดลง คิดเปนรอยละ 1.46
                                                  ี่
                  โดยป 2564 คาเฉลี่ยที่ดินทั้งจังหวัด เทากับ 0.46 ไรตอคน ลดลงจากป 2555 คิดเปนรอยละ 9.80 และ
                  คาเฉลี่ยที่ดินเฉพาะเนื้อที่ใชประโยชนทางการเกษตร เทากับ 0.16 ไรตอคน ลดลงจากป 2555 คิดเปน
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44