Page 38 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 38

2-16





                       2.6.2  พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด

                                จากการพิจารณาขอมูลสภาพการใชประโยชนที่ดินดานเกษตรกรรมจังหวัดสมุทรปราการ
                  ของกรมพัฒนาที่ดิน ป 2562 รวมกับขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ เชน เอกสารแนวทางการสงเสริมการเกษตร
                                                                                                   ั
                                                               ุ
                  ที่เหมาะสมตามฐานขอมูลแผนที่เกษตรเชิงรุกจังหวัดสมทรปราการ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2564) แผนพฒนา
                  จังหวัดสมุทรปราการ พ.ศ. 2566 - 2570 พบวา พืชเศรษฐกิจหลักสำคัญ พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลและ
                  เปนอัตลักษณของจังหวัด และพืชทางเลือกในอนาคตของจังหวัดสมุทรปราการ สามารถสรุปได ดังนี้
                                1) พืชเศรษฐกิจหลักสำคัญ
                              พืชเศรษฐกิจหลักสำคัญตามประกาศกระทรงเกษตรและสหกรณที่มีการปลูกในพื้นทีมาก
                                                                                                    ่
                                                                               
                                                                            
                  ที่สุด ไดแก ขาว ซึ่งพันธุที่เกษตรกรนิยมปลูกในพื้นที่ ไดแก พันธุกข ไมไวตอชวงแสง ปทุมธานี 1
                                 2) พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลและเปนอัตลักษณของจังหวัดสมุทรปราการ ไดแก มะมวง
                  น้ำดอกไมคุงบางกะเจา และมะมวงน้ำดอกไมสมุทรปราการ
                                     (1) มะมวงน้ำดอกไมคุงบางกะเจา หมายถึง มะมวงน้ำดอกไมพันธุเขียวนวลหรือพันธุ 

                  น้ำดอกไมพระประแดง มีรสชาติหวาน เนื้อแนนและแหงมีสีจำปา สวนเปลือกสีเหลืองอมเขียว มีการ
                  ปลูกอยูเฉพาะในพื้นที่คุงบางกะเจา ครอบคลุมพื้นที่ 6 ตำบล ไดแก ตำบลบางกะเจา ตำบลบางกระสอบ
                  ตำบลทรงคนอง ตำบลบางกอบัว ตำบลบางน้ำผึ้ง และตำบลบางยอ อำเภอพระประแดง จังหวัด
                                                                                            ู
                  สมุทรปราการ เนื่องจากพื้นที่คุงบางกะเจาเปนแหลงสะสมของตะกอนและธาตุอหารพืชที่ถกน้ำพัดพาลง
                                                                                                 ้
                  มาทับถมกัน โดยตะกอนในบริเวณนี้มีลักษณะเปนดนเหนียวสีเทาเขม - เทาอมเขียว สลับดวยชันทราย
                                                             ิ
                                                                                          ี
                                               ู
                  บาง ๆ และมีเศษซากเปลือกหอยถกทบถมอยูดานลาง หรือเรียกวา ชุดดินบางกอก ซึ่งมความเหมาะสม
                                                 ั
                  สูงตอการปลูกพืช อีกทั้งยังเปนบริเวณทมีทั้งน้ำเค็ม น้ำจืด และน้ำน้ำกรอย ประกอบกับมีลักษณะ
                                                     ่
                                                     ี
                  ภูมิอากาศเปนแบบฝนเมองรอน ทำใหคุงบางกะเจาเปนพื้นที่ทมีความอุดมสมบูรณเหมาะสมตอการปลูก
                                      ื
                                                                     ี่
                  ไมผลตาง ๆ รวมถึงมะมวงน้ำดอกไมคุงบางกะเจา ซึ่งเปนมะมวงน้ำดอกไมที่มีรสชาติหวานที่สุดใน
                  ประเทศไทย (กรมทรัพยสินทางปญญา, 2557)
                             (2) มะมวงน้ำดอกไมสมุทรปราการ
                               มะมวงน้ำดอกไมสมุทรปราการ หมายถึง มะมวงพันธุน้ำดอกไมเบอร 4 ที่มีผลทรงรี ขั้ว
                  ผลมีขนาดใหญและเล็กลงที่ทายผลหรือปลายแหลม ผลสุกมีผิวสีเหลืองเขม หรือเหลืองทอง เปลือกบาง
                                                                              
                                          
                  เนื้อผลสีเหลืองอมสม เนื้อละเอียด ไมมีเสี้ยน เมล็ดเล็กแบนลีบ มีการปลูกอยูเฉพาะในพื้นที่จังหวัด
                  สมุทรปราการ จากลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดสมุทรปราการที่สวนใหญเปนพื้นที่ราบลุมติดทะเล

                  อาวไทย มีแมน้ำเจาพระยาไหลผาน ดินสวนใหญเปนกลุมดินเหนียวที่เกิดจากวัตถุตนกำเนิดดินพวก
                  ตะกอนผสมระหวางตะกอนลำน้ำและตะกอนทะเลขนาดละเอียดถูกพัดพามาสะสมอยางตอเนื่องและ
                  ยาวนาน จึงเปนแหลงของธาตุอาหารที่สำคัญสำหรับพืชหลายชนิด โดยเฉพาะธาตุโพแทสเซียมที่ม  ี
                                                                                           
                  ความสำคัญตอการสรางและเคลื่อนยายแปงและน้ำตาลมีสวนสำคัญที่ชวยใหผลไมมีรสชาติดีข้น
                                                                                                      ึ
                  นอกจากนี้จังหวัดสมุทรปราการยังมีสภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปเย็นสบายตลอดปไมรอนจัดและไมหนาว
                  จัดจนเกินไป ซึ่งปจจัยในดานตาง ๆ เหลานี้ เปนปจจัยเฉพาะที่ทำใหมะมวงน้ำดอกไมสมุทรปราการม ี
                  ความแตกตางจากพื้นที่อื่น โดยเฉพาะดานรสชาติที่หวานละมุน ไมหวานแหลม มีกลิ่นหอม จึงทำให
                                                               ่
                  มะมวงน้ำดอกไมสมุทรปราการเปนผลไมอีกหนึ่งชนิดทีไดรับความนิยมจากผูบริโภค (กรมทรัพยสินทาง
                                                                                 
                  ปญญา, 2562)
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43