Page 32 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 32

2-10





                            2) ปริมาณน้ำฝน

                                                                                                 ี่
                                                                                                      ื
                                                                                 ี
                                ปริมาณน้ำฝนรวม 1,630 มิลลิเมตร โดยในเดือนกนยายนมปริมาณน้ำฝนมากทสุด คอ
                                                                         ั
                  323.6 มิลลิเมตร และเดือนกุมภาพันธมีปริมาณน้ำฝนนอยที่สุด คือ 23.3 มิลลิเมตร
                            3) ปริมาณน้ำฝนใชการได (Effective Rainfall : ER)
                                   ปริมาณฝนใชการ หมายถึง ปริมาณน้ำฝนที่เหลืออยูในดิน ซึ่งพืชสามารถนำไปใช
                  ประโยชนได สำหรับจังหวัดสมุทรปราการมีปริมาณฝนใชการ 1,090.2 มิลลิเมตร โดยในเดือนกันยายน
                  เปนชวงที่มีปริมาณฝนใชการมากที่สุด คือ157.4 มิลลิเมตร และเดือนกุมภาพันธเปนชวงที่มีปริมาณฝน
                  ใชการนอยที่สุด คือ 22.4 มิลลิเมตร

                            4) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ำ
                                  ความชื้นสัมพทธเฉลี่ยตลอดป 75.8 เปอรเซ็นต ศักยภาพการคายระเหยน้ำเฉลี่ยตลอด
                                           ั
                  ป 135.6 มิลลิเมตร โดยที่ศักยภาพการคายระเหยน้ำสูงสุดอยูในเดือนเมษายน 162.6 มิลลิเมตร และใน
                  เดือนพฤศจิกายนมีศักยภาพการคายระเหยน้ำต่ำสุด คือ 114.9 มิลลิเมตร

                            5) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสำหรับปลูกพืช
                                  การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสำหรับปลูกพืชเปนการนำขอมูลการวิเคราะห
                               ื่
                  สมดุลของน้ำเพอการเกษตรทไดจากการนำขอมูลปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย และคาศักยภาพการคายระเหยน้ำ
                                          ี่
                                                       
                  ของพืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo) มาคำนวณโดยใชโปรแกรม Cropwat for
                  Windows เวอรชัน 8.0 และพิจารณาจากชวงระยะเวลาที่เสนน้ำฝนอยูเหนือเสน 0.5 ETo ถือเปนชวง
                  ระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช จากการวิเคราะหขอมูล สามารถสรุปไดดังนี้ (รูปที่ 2 - 5)
                               (1)  ชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกพืชเปนชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะตอการ
                  ปลูกพืช ซึ่งปกติอยูในฤดูฝนชวงเวลาระหวางกลางเดือนเมษายนถึงปลายเดือนพฤศจิกายน สวนในชวง

                  ตนเดือนธันวาคมเปนชวงที่ปริมาณฝนลดลง ซึ่งในชวงเวลานี้เกษตรกรสามารถปลูกพชอายุสั้นหรือพชท ี่
                                                                                                    ื
                                                                                        ื
                  ใชน้ำนอยได เชน พืชตระกูลถั่วตาง ๆ เนื่องจากพืชสามารถใชประโยชนจากความชื้นทเหลืออยูในดินได
                                                                                         ี่
                  จากการที่ดินมีการดูดซับและเก็บความชื้นไวในชวงฤดูฝน อยางไรก็ตามเกษตรกรควรมีการวางแผน
                  จัดการระบบการเพาะปลูกใหเหมาะสมสำหรับพื้นที่เพาะปลูกแตละแหง โดยเฉพาะอยางยิ่งการจัดหา

                  แหลงน้ำสำรอง ซึ่งอาจจะตองอาศัยน้ำจากแหลงน้ำในไรนาหรือน้ำชลประทานชวยในการเพาะปลูกบาง
                                                                
                                        
                                                                     ี่
                                 (2)  ชวงระยะเวลาที่มน้ำมากเกินพอเปนชวงทดินมีความชื้นสูงและมีฝนตกชุกอยูในชวง
                                                 ี
                  ระหวางปลายเดือนพฤษภาคมถึงตนเดือนพฤศจิกายน จึงควรมีการวางแผนจัดการระบบการปลูกพช
                                                                                                      ื
                  และระบบการระบายออกจากพื้นที่ใหเหมาะสม เพื่อปองกันความเสียหายจากการเกิดอทกภัย
                                                                                         ุ
                                 (3)  ชวงระยะเวลาที่ไมเหมาะสมตอการปลูกพชในเขตเกษตรอาศัยน้ำฝน อยูในชวง
                                                                       ื
                  ระหวางปลายเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนเมษายน เนื่องจากมีปริมาณฝนและการกระจายของฝน
                  นอย ทำใหดินมีความชื้นไมเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืช อยางไรก็ตามในชวงเวลาดังกลาวหาก
                  พื้นที่เพาะปลูกมีการจัดการระบบชลประทานที่ดีก็สามารถปลูกพืชฤดูแลงได
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37