Page 163 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 163

5-5





                                    - ควรปรับปรุงบำรุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เชน ปุยหมัก ปุยคอก

                  หรือปุยพืชสด เพื่อชวยปรับปรุงโครงสรางของดินเพิ่มการอุมน้ำของดิน และเพิ่มธาตุอาหารที่เปน
                  ประโยชนสำหรับพืช รวมกับการใสปุยวิทยาศาสตรในอัตราสวนที่เหมาะสม
                                                               ื่
                                    - ควรปลูกพืชคลุมดินเพอรักษาความชุมชื้นของดิน
                                    - พัฒนาองคกรเกษตร ในเขตดังกลาวใหมีความเขมแข็ง สามารถ
                  ดำเนินการเพื่อชวยเหลือเกษตรกร ทั้งในดานปจจัยการผลิตที่มีราคาคอนขางสูงและคุณภาพของปจจัย
                                                                                  ิ
                                                                                  ่
                  การผลิตที่ตองอยูในระดับที่ดี เชน ปุย สารกำจัดศัตรูพืชและวัชพืช และกงพันธุ ปญหาหนี้สินของ
                                                                                                      ื้
                  เกษตรกรซึ่งมีผลตอการลงทุนของเกษตรกร การควบคุมคุณภาพของผลผลิต การจัดการตลาดที่จะรับซอ
                  ผลผลิตทางการเกษตรที่เปนระบบ
                                  2) เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตสูง มีเนื้อที่ 68,626 ไร หรือรอยละ
                            ื้
                                                           ู
                                       ุ
                  19.93 ของพนที่จังหวัดสมทรปราการ พื้นที่เขตนี้ถกกำหนดใหเปนเขตการเกษตร ซึ่งลักษณะดินที่พบในท ี ่
                  ลุมสวนใหญเปนดินลึกมาก มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีการระบายน้ำเลวถึงปาน
                                                                                     ิ
                  กลาง มีการใชประโยชนที่ดินสำหรับการทำนา ผลการประเมนความเหมาะสมของดนทางกายภาพในเขตนี ้
                                                                   ิ
                                                                                                    ี
                  อยูในระดับความเหมาะสมปานกลางถึงสูงตอการปลูกพืช ซึ่งอาจมีขอจำกัดบางประการในการใชท่ดิน
                  พื้นที่เขตเกษตรกรรมที่มศักยภาพการผลิตสูง สามารถแบงเขตการใชที่ดินเพื่อการผลิตไดเปน 3 เขต ตาม
                                       ี
                  ศักยภาพและความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                    (1)   เขตทำนา (หนวยแผนที่ 221) มีเนื้อที่ 3,502 ไร หรือรอยละ 0.56
                  ของเนื้อที่จังหวัดสมทรปราการ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบเปนดินลึกมาก มีการ
                                  ุ
                                                                  
                                                                      
                  ระบายน้ำเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง เขตนี้กำหนดใหเปนเขต
                              ่
                              ื
                  เกษตรกรรมเพอการปลูกขาวโดยอาศัยน้ำฝนเปนหลัก เกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใชที่ดินจากการปลูก
                  ขาวมาเปนการทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอนทรียได  
                   
                                                       ิ
                                    (2)   เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 223) มีเนื้อที่ 3,569 ไร หรือรอยละ
                  0.57 ของเนื้อที่จังหวัดสมทรปราการ ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกมาก ม ี
                                      ุ
                                                                           
                  การระบายน้ำเลว มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดินในปจจุบัน
                  สวนใหญเปนไมผล ซึ่งไมผลที่พบมากคือ มะมวง สมโอ และกลวยน้ำหวา เปนตน ไมยืนตนผสม หรือ
                                                                                     
                  พืชผัก พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือพืชผัก สามารถปรับเปลี่ยนทำเกษตร
                  ผสมผสาน

                                    (3)   เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ (หนวยแผนที่ 229) มีเนื้อที่ 61,555 ไร
                  หรือรอยละ 9.81 ของเนื้อที่จังหวัดสมุทรปราการ ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบ ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำเลว การเลี้ยงสัตวน้ำนับไดวามีความสำคญ
                                                                                                     ั
                  ในวัฏจักรของสัตวน้ำ และเปนเวลาที่ยาวนานกวาการเพาะและอนุบาลสัตวน้ำ การเลี้ยงที่ดี
                  จำเปนตองอาศัยการดูแลใหถูกวิธี เลี้ยงถูกขั้นตอนและประหยัดตนทุน ผลิตสัตวน้ำที่มีคุณภาพ สามารถ

                  จำหนายไดในราคาที่ดีสงผลใหประสบความสำเร็จในการเลี้ยง ซึ่งจะมีขั้นตอนระบบ ประเภทและ
                  ลักษณะของการเลี้ยงแตกตางกันออกไป นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมปลูกพืชแลว เกษตรกรยังทำ
                  ประมงควบคูกันไปดวย โดยปลาที่นิยมเลี้ยงไดแกสลิด ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาสวาย
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168