Page 162 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 162

5-4





                  เปนตน พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือไมยืนตน สามารถปรับเปลี่ยนทำ

                  เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียได
                                    (5)   เขตปลูกพืชน้ำ (หนวยแผนที่ 216) มีเนื้อที่ 1,137 ไร ไร หรือรอย
                  ละ 0.18 ของเนื้อที่จังหวัดสมุทรปราการ ในเขตนี้สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึก

                  มาก มีการระบายน้ำเลว มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดินใน
                                                                                                      
                  ปจจุบันสวนใหญเปนปรับทำคันดินกั้นน้ำ มีการเลี้ยงปลา และปลูกพืชน้ำ เชนผักกะเฉด บัว เปนตน
                  กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมเพื่อการผลิตพืชน้ำ ดังนั้นในชวงฤดูฝนหากมีฝนทิ้งชวงก็จะมีผลกระทบตอ
                                                                                                      
                  พืชน้ำที่ปลูกบาง พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางถงสูงสำหรับปลูกขาว ไมผลหรือพืชผัก หากปรับใหเปน
                                                           ึ
                  คันดิน
                                    (6)   เขตปศุสัตว (หนวยแผนที่ 218) มีเนื้อที่ 30 ไร ในเขตนี้สภาพการ
                  ใชที่ดินที่พบเปนทุงหญาเลี้ยงสัตวและดินมีความอุดมสมบูรณปานกลาง มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ
                  หรือคอนขางราบเรียบ หญาเปนอาหารของสัตวหลายชนิด ไมเฉพาะแตวัว ควาย แพะ แกะ ซึ่งเปน

                  สัตวใหญ สัตวตัวเล็กๆ เชน กระตาย หรือหนูบางชนิด ก็กินหญาเชนเดียวกัน บางครั้งแมวหรือสุนัข
                                                                                ุ
                               ื
                                                                   ุ
                                                                              ี
                                                                                        ื้
                                                                                                   
                  เล็มยอดหญาเพ่อเปนยารักษาตัวสัตวเอง การปลูกหญาทำทงเลี้ยงสัตวใหมคณภาพทเออประโยชนแกสัตว
                                                                                      ี่
                  เปนเรื่องที่ใชความรู ทั้งดานพืช ดิน ปุย รวมทั้งการเลี้ยง และดูแลสัตวดวย พื้นที่ที่จะใชปลูก อาจทำไดใน
                                                                                                      
                                                                                                      ุ
                  พื้นที่ขนาดตางๆ เชน อาจปลูกแบบหญาสวนครัว ในพื้นที่ที่วาง สำหรับตัดใหสัตวกิน หรือปลูกเปนทง
                  ใหญ สำหรับปลอยสัตวเขาไปแทะเล็ม หรืออาจปลูกผสมผสานแซมในสวนไมผล เชนตาลโตนด มะพราว
                  อินทผลัม แลวเลี้ยงสัตวควบคูกันไป ทำใหเกิดรายไดเสริมแกผูเลี้ยงสัตวไปในตัว นอกจากเกษตรกรทำ
                  เกษตรกรรมดานการปลูกพืชแลว เกษตรกรยังเลี้ยงสัตวควบคูกันไปดวย โดยสัตวที่นิยมเลี้ยง ไดแก โค
                  กระบือ หรือแพะ วัตถุประสงคของการเลี้ยงที่สำคัญคือ เพื่อใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไว
                               ึ
                                 ี
                    ื
                  เพอจำหนาย ซ่งมความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้เพื่อเปนแหลงอาหารของสัตวดังกลาว
                    ่
                                    (7)   เขตเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ (หนวยแผนที่ 219) มีเนื้อที่ 157,629 ไร
                  หรือรอยละ 25.12 ของเนื้อที่จังหวัดสมุทรปราการ ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                                                               
                                                                   
                  ราบเรียบ ดินที่พบสวนใหญเปนดินลึก มีการระบายน้ำคอนขางเลว การเลี้ยงสัตวน้ำนับไดวามความสำคญ
                                                                                                     ั
                                                                                             ี
                  ในวัฏจักรของสัตวน้ำ และเปนเวลาที่ยาวนานกวาการเพาะและอนุบาลสัตวน้ำ การเลี้ยงที่ดี
                  จำเปนตองอาศัยการดูแลใหถูกวิธี เลี้ยงถูกขั้นตอนและประหยัดตนทุน ผลิตสัตวน้ำที่มีคุณภาพ สามารถ
                  จำหนายไดในราคาที่ดีสงผลใหประสบความสำเร็จในการเลี้ยง ซึ่งจะมีขั้นตอนระบบ ประเภทและลักษณะ
                  ของการเลี้ยงแตกตางกันออกไป นอกจากเกษตรกรทำเกษตรกรรมปลูกพืชแลว เกษตรกรยังทำประมง
                  ควบคูกันไปดวย โดยปลาที่นิยมเลี้ยงไดแกสลิด ปลานิล ปลาตะเพียน ปลาดุก ปลาสวาย วัตถุประสงค 
                                                     
                  ของการเลี้ยงที่สำคัญคือ เพื่อจำหนายในตลาดขายสงและใชในการบริโภค ตลอดจนการเลี้ยงไวเพื่อ
                  จำหนายในทองถ่น ซ่งมีความจำเปนตองมีพื้นที่ในเขตนี้เพื่อเปนแหลงอาหารประเภทโปรตีน
                                ิ
                                    ึ
                                    ขอเสนอแนะในการใชพื้นที่เขตเกษตรกรรมชั้นดี
                                    - ควรพัฒนาเปนแหลงผลิตเมล็ดพันธุขาว
                                    - ควรพัฒนาสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร ของพืช และสัตว ปลา เพิ่มขึ้น
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167