Page 159 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 159

บทที 5
                                                              ่
                                                    แผนการใชที่ดิน



                                   ่
                  5.1  เขตการใชทีดิน
                      5.1.1 แผนการใชที่ดิน
                            การดำเนินการจัดทำแผนการใชที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ ไดดำเนินการตามกรอบ

                  การทำงานขององคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) Guidelines for Land-Use
                  Planning ซึ่งเปนแนวทางในการวิเคราะหประเมินปจจัยที่เกี่ยวของทางดานกายภาพ สิ่งแวดลอม
                                                                                                ่
                                                                                                ี
                                                                                              
                                         ี่
                                                                                                   
                  เศรษฐกิจ สังคมและการใชทดินในรูปแบบตางๆ อยางเปนระบบ เพื่อชวยเหลือสนับสนุนใหผูเกยวของม ี
                  สวนไดสวนเสียในการใชประโยชนทดิน มีทางเลือกที่เหมาะสมเกิดประโยชนสูงสุด และตอบสนองความ
                                               ี่
                  ตองการของสังคมอยางยั่งยืน (FAO, 1993) การกำหนดแผนการใชที่ดินจังหวัดสมุทรปราการครั้งนี้ ได 
                  ใชขอมูลเชิงพื้นทและขอมูลอรรถาธิบายที่สำคญคือฐานขอมูลดิน ความเหมาะสมของที่ดิน การใชที่ดิน
                                 ี
                                 ่
                                                         ั
                                                                                                 ี่
                                                                                                     
                                 
                  ทรัพยากรนา ปาไม นโยบาย กฎหมาย ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศที่สำคัญ และฐานขอมูลที่เกยวของ
                  ที่มีความละเอียด ถูกตอง ทันสมัย ผนวกกับใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เชน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                                     
                  (GIS) ในการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่และการใช DPSIR Framework (Kristensensen, 2004) รวมในการ
                  วิเคราะหจัดทำเพื่อใหแผนการใชที่ดินที่กำหนดขึ้นสามารถ นำไปใชเปนกรอบกำหนดแนวทางจัดการ
                  พื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ การวางแผนการใชที่ดินสำหรับวันขางหนานั้น มีวัตถุประสงคและเปาหมาย
                  ที่จำเพาะเจาะจง ซึ่งกำหนดขึ้นโดยความตองการของสังคมและนโยบายของจังหวัดสมุทรปราการ
                                                                      
                                                                                                     ี่
                                   ี่
                                                                                                 ี่
                  การวางแผนการใชทดินจะตองวางแผนใหเหมาะกับสถานการณในปจจุบัน การวางแผนการใชทดินทจะ
                  ใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจำกัดใหเกิดประโยชนมากที่สุดยั่งยืน และรวมระบบการผลิตที่เปน
                  มิตรกับสิ่งแวดลอม มีจุดมุงหมายคือ 1) ประเมินความตองการในปจจุบันและอนาคต และกำหนด
                  รูปแบบการประเมินความเหมาะสมของที่ดินที่จะสนองตอความตองการ 2) แยกแยะหรือแจกแจง
                  ขอขัดแยงระหวางการใชที่ดินตางประเภทกัน 3) วิเคราะหหาทางเลือกการใชที่ดินที่คงทนถาวร
                                                                        
                  ทางเลือกเหลานี้จะตองเปนทางเลือกท 4) ดีที่สุดที่ตรงกับความตองการของทองถินนั้นๆ 5) วางแผนให
                                                  ี
                                                  ่
                                                                                     ่
                  สามารถเกิดความตองการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน และ 6) เรียนรูจากสิ่งที่ผิดพลาดมากอน (บัณฑิต, 2535)
                                                                                                 ี่
                  ดังนั้น แผนการใชที่ดินของจังหวัดสมุทรปราการ มีจุดมุงหมายเพอเปนกรอบแนวทางในการใชทดินใหม ี
                                                                       ื่
                  ประสิทธิภาพและยั่งยืน สอดคลองกับสภาวะเศรษฐกิจสังคม รวมทั้งการอนุรักษ จัดสรรทรัพยากรที่ด  ี
                  และเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด โดยนำฐานขอมูลทรัพยากรดินและสมบัติของดิน
                  การประเมินคุณภาพที่ดิน (สำนักสำรวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2548ก; 2548ข; 2548ค; และ 2548ง)

                                                                          
                  พื้นที่รับน้ำชลประทาน (กรมชลประทาน, 2558) เขตปาไม (กรมปาไม, 2559) เขตอุทยาน เขตรักษาพันธุ
                  สัตวปา เขตหามลาสัตวปา (กรมอุทยานสัตวปาและพันธุพืช, 2559) เขตปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
                  ของสำนักงานปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (2556) ชั้นคุณภาพลุมน้ำ ของสำนักงานนโยบายและแผน

                                                                                                    ี
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (2536) และที่ราชพัสดุ นำมาใชในการกำหนดนโยบายการใชท่ดน
                                                                                                      ิ
                  และทรัพยากรที่ดินในภาพรวมของจังหวัดสมุทรปราการ เพื่อขยายผลสูปฏิบัติระดับตำบลได ตอไป
                                                                                               
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164