Page 161 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 161

5-3





                            2. เขตเกษตรกรรม มีเนื้อที่ 267,963 ไร หรือรอยละ 42.69 ของพื้นที่จังหวัด

                                                          ี่
                                                                     ี่
                     ุ
                  สมทรปราการ พื้นที่เขตการเกษตรนี้เปนบริเวณทอยูนอกเขตทมีการประกาศเปนเขตปาไมตามกฎหมาย
                  เขตนี้เกษตรกรมีการใชพื้นที่เพื่อทำการเกษตร เชน นาขาว พืชไร ไมผล พืชผัก หรือไมยืนตน แตเมอ
                                                                                                      ื
                                                                                                      ่
                  พิจารณาถึงความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการเกษตรและทิศทางการพัฒนาพื้นที่นี้ สามารถแบงพื้นที่เขต
                                                                                                     ี
                                                                                              ี
                                     ื
                                                                                   
                                                    ั
                  การเกษตรเปน 2 เขต คอ เขตเกษตร และพฒนา (เขตการเกษตรชั้นดี) เขตเกษตรกาวหนา โดยมรายละเอยด
                  ดังนี้
                                  1) เขตการเกษตรชั้นดี พื้นที่ของเขตนี้กำหนดใหเปนเขตเกษตรกรรมในพื้นท ี ่
                  ชลประทาน และสิ่งบงชีทางภูมิศาสตร (Geographical Indications หรือ GI) มีเนื้อที่ 199,336 ไร
                                       ้
                  หรือรอยละ 31.76 ของเนื้อที่จังหวัดสมุทรปราการ พื้นที่ในเขตนี้มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขาง
                  ราบเรียบ เปนดินลึกปานกลางถึงลึกมาก มีการระบายน้ำเลวหรือดีปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณ 
                                                                                                      ื่
                                                       ี
                  ตามธรรมชาติปานกลางถึงสูง และเปนพื้นที่ที่มการพัฒนาระบบน้ำชลประทานหรือระบบสูบน้ำดวยไฟฟาเพอ
                  การเพาะปลูก ดังนั้น ในชวงฤดูแลงหลังจากการเก็บเกี่ยวขาวนาป ในพื้นที่ที่มีปริมาณน้ำเพียงพอ
                  เกษตรกรสามารถปลูกพืชครั้งที่สองโดยเฉพาะขาวนาปรัง หรือพืชไร เชน ขาวโพด ถั่วเหลือง ถั่ว
                  เขียว เปนตน พื้นที่เขตเกษตรกรรมชั้นดีสามารถแบงเขตการใชที่ดินเพื่อการผลิตไดเปน 8 เขต
                  ตามศกยภาพและความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                       ั
                                    (1)   เขตทำนา (หนวยแผนที่ 211) มีเนื้อท 39,627 ไร หรือรอยละ 6.31
                                                                               ี่
                  ของเนื้อที่จังหวัดสมุทรปราการ มีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ดินที่พบเปนดินลึกมาก ม ี
                  การระบายน้ำเลว ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง เขตนี้กำหนดใหเปนเขต
                  เกษตรกรรมเพื่อการปลูกขาวโดยน้ำชลประทานเปนหลัก เกษตรกรสามารถเปลี่ยนการใชที่ดินจากการ
                                                                 
                       
                  ปลูกขาวมาเปนการทำเกษตรผสมผสาน ทำเกษตรอนทรียได และมีสิ่งบงชี้ทางภูมศาสตร
                                                                                  ิ
                                                          ิ
                                    (2)   เขตปลูกไมผล (หนวยแผนที่ 213) มีเนื้อที่ 864 ไร หรือรอยละ 0.14
                  ของเนื้อที่จังหวัดสมุทรปราการ ในเขตนี้สภาพพื้นทีราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกมาก มีการ
                                                           ่
                  ระบายเลว มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวน
                  ใหญเปนไมผลที่พบมาก เชน มะมวง สมโอ มะพราว และกลวยน้ำหวา เปนตน ซึ่งมะมวงที่เปนสิ่งบงชี้

                  ทางภูมิศาสตร (Geographical Indications หรือ GI) คือ มะมวงน้ำดอกไมคุงบางกระเจา และ
                  มะมวงน้ำดอกไมสมุทรปราการ สวนพื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือพชผัก
                                                                                                   ื
                  ทำเกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียได

                                    (3)   เขตปลูกไมยืนตน (หนวยแผนที่ 214) มีเนื้อที่ 26 ไร ในเขตนี้สภาพ
                   ้
                   ื
                      ี
                      ่
                                      
                  พนทราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาต ิ
                                  
                  ระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญเปนไมยืนตน เชน สะเดา กระถินเทพา
                  เปนตน พื้นที่เขตนี้มีศักยภาพปานกลางถึงสูงสำหรับปลูกไมผลหรือพืชผัก สามารถปรับเปลี่ยนทำ
                  เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรียได
                                    (4)   เขตปลูกพืชสวน (หนวยแผนท 215) มีเนื้อที่ 24 ไร ในเขตนี้สภาพ
                                                                         ่
                                                                         ี
                      ี
                      ่
                                      
                                  
                   ื
                   ้
                  พนทราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ เปนดินลึกมาก มีการระบายน้ำดี มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ
                                                                           ี่
                  ระดับปานกลางถึงสูง สภาพการใชที่ดินในปจจุบันสวนใหญเปนพืชผักทพบมาก คือ มะเขือเทศ และผักกาด
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166