Page 15 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 15

1-3





                  1.4  ขั้นตอนการดำเนินงาน

                                                                                                ี
                                                                                                ่
                      1.4.1 ชี้ประเด็นปญหาที่เกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นทจังหวัด
                                                                                                 ี
                  สมุทรปราการ ซึ่งเปนผลจากการพัฒนาที่จะกอใหเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรในพื้นทจังหวัด
                                                                                                 ่
                  สมุทรปราการ
                      1.4.2 กำหนดหลักเกณฑ แนวทาง และวิธีท่จะนำไปสูการแกไข โดยอาศัยระบบการวิเคราะห
                                                             ี
                  เชิงพรรณนา และการวิเคราะหพื้นท  ี่
                                                         
                                         
                                              
                                                                                              
                                                                                                 ื
                      1.4.3 และรวบรวมขอมูลดานทรัพยากรตาง ๆ คือ ดิน ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ น้ำ ปาไม พชพรรณ
                  ทั้งดานสภาพการใชประโยชนที่ดิน ดานเศรษฐกิจและสังคม ทั้งในภาพรวมและเฉพาะดาน ตลอดจน
                                                                             ่
                  นโยบายของรัฐที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอม ซึ่งมีทั้งขอมูลทุตยภูม ิ
                                                                                                   ิ
                                                                                            ึ
                                                                                            ้
                  จากหนวยงาน เอกสาร ผลงานวิจัยตาง ๆ และขอมูลปฐมภูมิซึ่งไดจากการจัดหาขนมาเองตาม
                  วัตถุประสงคที่ตองการ
                                                                                                      ิ
                      1.4.4 การนำเขาขอมูล นำเขาขอมูลเชิงพืนที่ (Spatial data) เชน แผนที่ดิน แผนที่สภาพการใชท่ดน
                                                         ้
                                                                                                    ี
                                                                                                      ็
                  แผนที่การพัฒนาแหลงน้ำผิวดิน แผนที่ขอบเขตปาไมตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี ทำการเกบ
                  ขอมูลในรูป Digital data โดยใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และขอมูลเชิงบรรยาย
                                                     ิ
                  (Non spatial data) เชน ขอมูลดานเศรษฐกจและสังคม และขอมูลตัวเลขอื่น ๆ โดยใชโปรแกรมสำเร็จรูป
                      1.4.5 การวิเคราะห
                                                    ่
                            1) การวิเคราะหขอมูลทัวไป เปนการวิเคราะหในดานขอเท็จจริง ปญหาและการแกไข
                                                                          
                  และสถานการณในปจจุบันของขอมูลแตละดานที่กลาวมาแลว เพื่อเปนขอมูลเบื้องตนประการหนึ่ง
                  ที่จะนำมาใชประกอบการพิจารณา กำหนดทิศทางเพื่อการพัฒนาดานการเกษตรไดอยางถูกตอง
                  และเหมาะสมในอนาคต
                            2) การวิเคราะหขอมูลเฉพาะดานตาง ๆ คือ
                              (1) การวิเคราะหเพื่อจัดทำหนวยที่ดิน โดยใชโปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                  ในการซอนทับขอมูลแผนที่ตาง ๆ และแจกแจงตารางคุณภาพที่ดินของหนวยที่ดิน

                              (2) การประเมินอัตราการชะลางพังทลายของดิน ใชสมการการสูญเสียดินสากล
                  (RUSLE) ที่ปรับปรุงแกไขจากสมการการสูญเสียดินสากล (USLE ของ Wischmeier และ Smith, 1978)
                  ในการคำนวณ

                              (3) การวิเคราะหขอมูลภูมิอากาศเพื่อหาปริมาณการระเหยและการคายน้ำอางอิง
                  ปริมาณน้ำฝนที่เปนประโยชนและชวงระยะเวลาปลูกพืช
                                                                                                      ิ
                                (4) การประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพ ใชคูมือการประเมินคุณภาพที่ดน
                  สำหรับการวางแผนการใชที่ดินระดับตำบลและระดับจังหวัด (ศันสนีย อรัญวาสน และคำรณ ไทรฟก,

                  2562) เปนการประเมินคุณภาพที่ดินโดยทำการเปรียบเทียบความตองการประเภทการใชที่ดิน
                  (Landuse Requirements) กับคุณภาพที่ดินของหนวยที่ดิน (Land qualities) และจำแนกชั้น
                  ความเหมาะสมของที่ดินออกเปน 4 ชั้น ดังนี้
                                    S1 :  ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)

                                    S2 :   ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)
                                    S3 :  ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (Marginally suitable)
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20