Page 125 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 125

3-55





                    3.4.2 ทรัพยากรแร


                        จังหวัดสมุทรปราการมีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบลุมชายฝงทะเล มีแมน้ำเจาพระยาไหล
                                                                                                      ่
                  ผานตอนกลางจังหวัดและไหลคดเคี้ยวตามแนวเหนือใตลงสูอาวไทย กระแสน้ำที่ไหลออกปะทะกับคลืน
                  ทะเลทำใหปากแมน้ำเจาพระยาขยายกวางออกมีกระแสน้ำชายฝงพัดพาตะกอนไปสะสมตัวเปนแนว
                           ิ
                                                                
                                                                                             ั้
                  ชายฝงในทศทางตะวันออก-ตะวันตก ทั้งสองฟากของแมน้ำเจาพระยา ประกอบกับชายฝงทงหมดเปนท ี่
                  ราบน้ำขึ้นถึงปาชายเลน ดวยเหตุนี้จังหวัดสมุทรปราการจึงเปนที่สะสมของตะกอนยุคปจจุบันหลายชนิด
                  ซึ่งมีคุณประโยชนกับมนุษยเปนอยางยิ่ง หนึ่งในนั้นคือทรัพยากรธรณีประเภทดินเหนียว

                                            ิ
                                                         ี่
                           ดินเหนียวเปนดินที่เกดจากตะกอนทพัดพามาทับถมกน ดินเหนียวประกอบดวยแรเคโอลิไนต
                                                                       ั
                  (kaolinite) เปนสวนใหญ โดยแรเคโอลิไนตที่พบในดินเหนียว มักมีผลึกที่ไมสมบูรณและมีขนาดเล็ก
                  นอกจากนี้ยังพบแรดินชนิดอื่น ๆ อาทิ มอนตมอริลโลไนต (montmorillonite) อิลไลต (illite) ควอตซ  
                  (quartz) แรไมกา (mica) แรเหล็กออกไซด (iron oxide) รวมทั้งมักมีสารอินทรียปะปนอยูเสมอ ดิน
                  เหนียวมีสีตาง ๆ เกิดจากการมีแรธาตุชนิดตาง ๆ ในปริมาณที่แตกตางกัน อาทิ สีดำ เทา ครีม และ
                                                              ุ
                  น้ำตาล ดินเหนียวที่มีสีเทาหรือดำนั้นจะมอินทรียวัตถปนมาก สวนดินเหนียวสีครีมหรือน้ำตาลมาจากแร
                                                    ี
                                                                                                   ็
                  เหล็กที่ปะปนอยูดินเหนียวมีสมบัติเดนในการนำมาขนรูปคอ มีความเหนียว และเมื่อแหงมีความแขงแรง
                                                             ึ้
                                                                  ื
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ่
                  สูง ทำใหผลิตภัณฑหลังแหงมีความแข็งแรง แตอยางไรก็ตามเมื่อแหง ดินเหนียวมักมีการหดตัวสูง ซง
                  เปนสาเหตุหนึ่งที่ทำใหผลิตภัณฑมีการแตกราว ดังนั้นจึงไมนิยมใชเนื้อดินเหนียวลวน ๆ ในการขึ้นรูป
                                              ี่
                  ผลิตภัณฑ แตตองมีการผสมวัสดุทไมมีความเหนียว อาทิ ดินเชื้อ หรือทราย เพื่อลดการดึงตัวและหดตัว
                                                
                  ซึ่งจะชวยลด ปญหาการแตกราว เนื่องจากการหดตวของดินได ดินเหนียวหลายชนิดมีชวงอุณหภูมิท่จะ
                                                             ั
                                                                                                     ี
                                                                      
                  เปลี่ยนไปเปนเนื้อแกวกวาง ซึ่งจะเปนประโยชน คือ ชวยปรับปรุงเนื้อผลิตภัณฑหลังการเผาใหดีขึ้น ใน
                  การใชประโยชนจากดินเหนียวนั้น นอกจากใชเปนเนื้อดินปนสำหรับหัตถกรรมพื้นบานแลว ยังนิยม
                                                                          ี
                                                                                                      ิ
                  นำมาใชผสมกับดินขาวเพื่อเพิ่มความเหนียว หรือชวยใหน้ำดินมการไหลตัวดีขึ้น ในบรรดาวัตถุดบ
                  ทั้งหลายที่ใชในการผลิตผลิตภัณฑเซรามิก โดยเฉพาะหัตถกรรมพื้นบาน อาทิ หมอ ไห กระถาง อิฐ นัน
                                                                                                      ้
                                      ี
                                     ี่
                                               ั
                  ดินเหนียวเปนวัตถุดิบทมความสำคญอยางยิ่ง นอกจากนั้นแลวดินเหนียวสามารถนำมาใชประโยชนดาน
                  การกอสรางได คือ นำมาถมที่ซึ่งในจังหวัดที่มีพื้นทีติดทะเลการนำหินแข็งมาถมที่หาไดยาก และในบาง
                                                            ่
                                                              ี่
                                                                                                    ั
                                                          ี่
                  พื้นที่ไมมีเลย สำหรับจังหวัด สมุทรปราการเปนทพนทที่ติดทะเล มีการกัดเซาะของชายฝงทะเลในอตรา
                                                            ื้
                                                                                                 ่
                                  ่
                  สูง และเปนพื้นที่ทีมีโรงงาน อุตสาหกรรมเปนจำนวนมาก ดังนั้นการใชดินเหนียวถมที่ จึงเปนสิงจำเปน
                  อยางยิ่ง
                                                            ุ
                        แหลงดินเหนียวหรือดินเคลยในจังหวัดสมทรปราการ สวนใหญเกิดจากตะกอนทะเลปะปนกบ
                                                                                                      ั
                  ตะกอนทางน้ำพบกระจายตัวอยูทั่วไปของพื้นจังหวัด จากขอมูลกรมโรงงานอุตสาหกรรม พบมีการ
                  ประกอบกิจการบอดินจำนวน 1 บอ แตบอที่มีขนาดใหญและมีการดำเนินการอยู คือบอดินของบริษท
                                                                                                      ั
                                                                               ั้
                  นรินทรเนรมิต จำกัด ตั้งอยูที่ตำบลบางปลา อำเภอบางพลี บอดินนี้มีพื้นทงหมดประมาณ 1,000 ไร แต
                  บอ ปจจุบันที่กำลังดำเนินการมพื้นที่ประมาณ 100 ไร ลักษณะการขุดเปนแปลงเล็ก ๆ และเมอมน้ำเตม
                                            ี
                                                                                                      ็
                                                                                               ่
                                                                                                 ี
                                                                                               ื
                                                      ี่
                  จะขยับไปเปดเปนบอใหม ลักษณะตะกอนทพบดานบนสุดของบอเปนดินเคลยทมีเนื้อแนนสีเทา ชั้นหนา
                                                                                   ี่
                  ประมาณ 5 เมตร พบเศษเปลือกหอยปจจุบันปะปน เปนหอยกาบคู ขนาดประมาณ 3-5 เซนติเมตร
                  ตะกอนดินเคลยนี้วางตัวอยูบนตะกอนดินเคลยทมีเนื้อนิ่ม สีเขียวอมเทา ชั้นหนาประมาณ 10 เมตร โดย
                                                          ี่
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130