Page 123 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 123

3-53





                                                                                           ั้
                  ทะเลเปด มีการยายถิ่นขามไปมาในประเทศ หรือระหวางประเทศ การโยกยายถิ่นอาจมีทง การยายตาม
                                                                          ั
                  แหลงอาหาร โยกยายตามฤดูกาล และยายแหลงเพื่อการแพรขยายพนธุ นานน้ำไทย เปนบริเวณหนึ่งทม ี
                                                                                                      ี่
                  อุณหภูมิสูงอยูตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแตละฤดูกาลมีนอยมาก จึงเปนบริเวณท ่ ี
                  เหมาะอยางยิ่งที่จะเปนแหลงแพรพันธุและแหลงอาหาร ในอดีตที่ผานมามีการลาจับวาฬและโลมากน
                                                                                                      ั
                  มากเพื่อใชบริโภค และแปรรูปเปนผลิตภัณฑตาง ๆ
                           ปจจุบันประชากรวาฬและโลมากาลังประสบปญหาการคุกคามจากมนุษย ซึ่งทั่วโลกกาลังให

                  ความสาคัญและจัดใหเปนสัตวคุมครอง โดยลงทะเบียนในอนุสัญญา CITES ประเทศไทยเปนประเทศ
                                                ้
                  หนึ่งที่เปนสมาชิกในอนุสัญญาฉบับนี การประมง และสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดผลกระทบตอประชากรสัตว
                  ทะเล ซึ่งอาจเกี่ยวของกับการคาระหวางประเทศ จึงจำเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการศึกษาสัตวทะเลเลี้ยง

                  ลูกดวยนมเหลานี้อยางจริงจัง เพื่อใหไดขอมูลที่สมบูรณถูกตองในการนาไปวิเคราะหถึงปญหา และ
                  ผลกระทบอันเกิดจากการประมง หรือการอุตสาหกรรมตาง ๆ เพื่อใหเปนที่ยอมรับของนานาประเทศ

                           ทรัพยากรสัตวทะเลหายากในพื้นที่ จังหวัดสมุทรปราการที่พบคือ วาฬบรูดา โลมาหัวบาตร
                  หลังเรียบ และโลมาอิรวดี โดยวาฬบรูดา พบบริเวณชายฝงทะเลหนาวัดขุนสมุทรจีน ปากแมน้ำ
                  เจาพระยา บริเวณสกุณา (อาคารนารอง) ชวงเวลาที่มีอาหารสมบูรณ เชน ปลากะตัก ปลาหลังเขียว

                  และปลาไสตัน อาจพบวาฬบรูดาได ประมาณ 15-20 ตัวใน 1 วัน วาฬบรูดาที่พบในบริเวณนี้เปน
                                         ี่
                                   ั
                                                                                             ั
                  ประชากรกลุมเดียวกนกับทพบบริเวณอื่น ๆ ในพื้นที่อาวไทยตอนบน ซึ่งวาฬบรูดาจะไมอาศยอยูประจำ
                                                                                          
                  ที่ แตจะวายตามฝูงปลาที่เปนอาหาร โดยประชากรที่พบในอาวไทยตอนบนมีประมาณ 55 ตัว
                           โลมาอิรวดี พบมากบริเวณหนาวัดขุนสมุทรจีน จนถึงรองเรือของปากแมน้ำเจาพระยา ม ี
                  จำนวนประชากรประมาณ 10-30 ตัว และอาจเปนกลุมประชากรเดียวกันกับที่พบบริเวณบางขุนเทียน

                  จนถึงปากแมน้ำทาจีน จังหวัดสมุทรสาคร

                           โลมาหัวบาตรหลังเรียบ พบบริเวณฝงซายของปากแมน้ำเจาพระยา ทิศตะวันตกของแมน้ำ
                                                                                           ั
                  นอกแนวโปะ โดยจะพบในวันที่ทะเลคอนขางเงียบ ไมมีคลื่น มจำนวนประมาณ 10-20 ตว
                                                                     ี
                           (กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง, 2560)
                                                     
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128