Page 118 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 118

3-48





                             ขนมจาก – เดิมเปนของฝากขึ้นชื่อมีขายอยูทุกแหงในปากน้ำ แมเปนเพียงขนมที่มีราคา

                  เพียงบาท สองบาท โดยเฉพาะ “ขนมจาก” ของรานลิ้มดำรงคที่ดำเนินการสืบทอดกันมาเปนเวลากวา
                          ่
                                                                                                 ี
                  100 ป ทีถนน? ศรีสมุทร เยื้องทางเขาทาเรือขามฟากไปพระสมุทรเจดีย ซึ่งในปจจุบันเหลืออยูเพยงราน
                  เดียวในจังหวัด แตกอนถึงกับมีคนพูดกันเลน ๆ วา “มาปากน้ำถาไมไดซื้อขนมจาก ถือวายังมาไมถึง”
                                                                                                      ่
                  จากประโยคขางตนกลับสามารถพิสูจนความโดงดังของขนมจาก เมืองปากน้ำไดเปนอยางดี แตเมอ
                                                                                                      ื
                                                                                                      ้
                                                                                                      ึ
                  กาลเวลาไดลวงเลยไป พรอม ๆ กับความเจริญทำใหมีการปรับเปลี่ยนเสนทางสัญจร มีการตัดถนนขน
                  ใหมเพื่อขจัดปญหาจราจรแออัด ซึ่งสงผลใหอาชีพที่ขึ้นชื่อของเมืองนี้ คือรานคาขนมจาก พลอยม ี
                  ผลกระทบตามไปดวย อีกสาเหตุหนึ่ง คือรานคาตาง ๆ ตองปดตัวเองลงเนื่องมาจากแหลงทองเที่ยวอื่น ๆ
                                                                                        ี
                                                                                        ่
                                                                                                    ้
                                                                                    
                                                                                                  ี
                                                                                                  ่
                  ไดนำสูตรขนมจากทเลื่องลือชื่อนี้ไปดัดแปลง และทำเปนรูปแบบขนมของฝากนักทองเทยวในสถานทนัน ๆ
                                  ี่
                  ดังนั้นขนมจากเมืองปากน้ำจึงไมใชของฝากที่หาซื้อไดงาย ๆ อีกตอไปแลว
                    3.4.2 ทรัพยากรประมง
                                               ึ
                           ทรัพยากรประมง หมายถง พชน้ำ สัตวน้ำ รวมทั้งผลผลิตหรือผลพลอยไดจากพืชและสัตวตาง ๆ
                                                  ื
                  ที่ อาศัยอยูในน้ำ จำพวกพืชน้ำ ไดแก สาหรายตาง ๆ เชน สาหรายใบ สาหรายวุน จำพวกสัตวน้ำ ไดแก  
                                                                                                     
                  กุง หอย ปูปลา เตา ปลาหมึก และสัตวน้ำอื่น ๆ จำพวกผลผลิตหรือผลพลอยได เชนไขของสัตวน้ำเปน
                  ตน สำหรับการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำในพื้นที่น้ำจืด
                     ขอมูลดานประมงในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ (สำนักงานประมงจังหวัดสมุทรปราการ, 2566)
                     1. จำนวน ทบ.1/พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ(ไร)

                         - ยังชืพ  จำนวน  57 ราย/ 64.53 ไร
                         - พาณชย  จำนวน 4,684 ราย/ 91,101.30 ไร
                             ิ
                     2. จำนวน ทบ.2  : 518  ราย
                     3. จำนวน ทบ.3  : 223  ราย
                                                  ่
                     4. จำนวนองคกรชุมชนประมงทองถน  :  19 ชุมชน
                                                  ิ
                                 
                         - ดานการประมงน้ำจืด    จำนวน  -  ชุมชน
                         - ดานการประมงชายฝง   จำนวน 7 ชุมชน
                         - ดานการเพาะเลี้ยง        จำนวน 8 ชุมชน

                         - ดานแปรรูป จำนวน 2 ชุมชน
                          
                         - ดานการประมงพาณิชย  จำนวน 2 ชุมชน
                     5. จำนวนและพื้นที่แหลงน้ำปด  - แหง
                                                                           ิ
                                  ้
                     6. จำนวนและพนทีแหลงน้ำจืด  : 92 คลอง ความยาว 712,758 กโลเมตร
                                     ่
                                  ื
                           - ชลประทาน  15 คลอง ความยาว 272.655 กโลเมตร
                                                                ิ
                           - ธรรมชาต     77 คลอง ความยาว 440.130 กโลเมตร
                                  ิ
                                                                ฺ
                     7. จำนวนแหลงปลาหนาวัด :  - แหง
                     8. จำนวนเรือประมงทังหมด
                                       ้
                                        ิ
                            - เรือประมงพาณชย  จำนวน 415 ลำ
                            - เรือประมงพนบาน  จำนวน 579 ลำ
                                     ื
                                     ้
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123