Page 122 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 122

3-52





                  ตาบลนาเกลือแหลมฟาผา ทายบาน บางปูใหม บางปู คลองดาน (6 ตาบลนี้ติดทะเล) ตาบลบานคลอง

                  สวน ในคลองบางปลากดปากคลองบางปลากด บางโปรง บางดวน และปากน้ำ (6 ตาบลนี้มีทรัพยากร
                  ปาชายเลน) ทั้งหมดจำนวน 183,534 ไร (ตารางที่ 5) อยูในเขตรับผิดชอบเชิงพื้นที่บนบกตามมาตรา 3
                  ในพระราชบัญญัติสงเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พ.ศ.2558 ของกรม

                  ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง พื้นที่ในทะเลของจังหวัดสมุทรปราการ มีประมาณ 1,207 ตาราง
                  กิโลเมตร (รูปที่ 30) ตามพระราชบัญญัติกาหนดเขตจังหวัดในอาวไทยตอนใน พ.ศ.2502 ลักษณะทาง
                  ธรณีสัณฐานชายฝงของจังหวัดสมุทรปราการ แบงออกเปน 2 ประเภทคือ ชายฝงที่มีลักษณะเปนหาด
                                               
                              ิ
                  โคลน 55.16 กโลเมตร และปากแมน้ำ 2.24 กโลเมตร
                                                        ิ
                           แหลงหญาทะเล
                           จังหวัดสมุทรปราการ มีแหลงหญาทะเลนอยมาก พบหญาตะกานน้ำเค็ม (Ruppia

                  maritima) เพียงชนิดเดียว ซึ่งสามารถเจริญเติบโตไดดีในบอเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ มีพื้นที่ 10 ไร

                           สัตวทะเลหายาก

                           สัตวทะเลหายากในนานน้ำไทยประกอบดวยกลุมสัตวทะเล 3 กลุม ไดแก เตาทะเล (Sea
                  turtles) พะยูน (Dugong) โลมาและวาฬ (Whales and Dolphins) ซึ่งทั้งหมดถูกจัดเปนสัตวปาสงวน
                  และคุมครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535 วาดวยการหามลา หามคา หาม
                  ครอบครอง หามเพาะพันธุโดยมีผลครอบคลุมไปถึงไข ซาก ตลอดจนชิ้นสวนตาง ๆ ของสัตวเหลานั้นดวย

                  นอกจากนี้ยังถูกจัดใหอยูในบัญชีรายชื่อของอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งพันธุพืชปาและ
                  สัตวปาที่ใกลสูญพันธ (CITES) โดยเตาทะเลทุกชนิด พะยูน และโลมาอิรวดี อยูในภาวะใกลสูญพันธุอยาง
                  ยิ่ง จึงจัดอยูในรายชื่อ CITES บัญชี 1 สวนโลมาและวาฬชนิดอื่น ๆ และฉลามวาฬ จัดอยูใน CITES
                  บัญชี 2 สัตวทะเลหายากในนานน้ำไทยทั้ง 3 กลุม มีรายละเอียดดังนี้


                           1) เตาทะเล มี 5 ชนิด ไดแก เตาตนุ (Green turtle: Chelonia mydas) เตากระ (Hawksbill
                  turtle: Eretmochelys imbricata) เตาหญา (Olive ridley turtle: Lepidochelys olivacea) เตา
                  มะเฟอง (Leatherback turtle: Dermochelys coriacea) และเตาหัวคอน (Loggerhead turtle:
                  Caretta caretta) ไมพบการรายงานการพบเตาทะเล ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ

                           2) พะยูน มีเพียงชนิดเดียวคือ พะยูน (Dugong: Dugong dugon) ไมพบการรายงาน พะยูน

                  ในธรรมชาติในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ
                           3) กลุมโลมาและวาฬ มี 27 ชนิด แบงเปนกลุมที่อยูประจาถินใกลฝง และกลุมที่มีการอพยพ
                                                                             ่
                  ยายถิ่นระยะไกลซึ่งมักอาศัยบริเวณไกลฝง ชนิดโลมาและวาฬที่มีการศึกษาในเชิงสถานภาพ และการ
                  แพรกระจายจำกัดอยูในกลุมประชากรใกลฝง 6 ชนิด ไดแก โลมาปากขวด (Indo-Pacific Bottlenose
                                                       
                  dolphin: Tursiops aduncus) โลมาหัวบาตรหลังเรียบ (Finless porpoise: Neophocaena

                  phocaenoides) โลมาหลังโหนก (Indo-Pacific Humpback dolphin: Sousa chinensis) โลมาอิรวดี
                  ( Irrawaddy dolphin: Orcaella brevirostris) วาฬ บ รูด า (Bryde's whale: Balaenoptera edeni)
                  และวาฬโอมูระ (Omura’s whale: Balaenoptera omurai) โลมาและวาฬ จัดเปนสัตวเลือดอุน เลี้ยง
                  ลูกดวยนม หายใจดวยปอด และมีอุณหภูมิในรางกายคงที่เกือบตลอดเวลา วาฬและโลมาอาศัยอยูใน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127