Page 129 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรปราการ 2566
P. 129

บทที 4
                                                              ่
                                     กระบวนการวิเคราะหเพื่อจัดแผนการใชที่ดิน



                  4.1  นโยบายแหงรัฐ
                      กระบวนการวิเคราะหเพื่อจัดทำแผนการใชที่ดิน ไดนำหลักคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                                      ี่
                                           
                        นโยบายแหงรัฐทเกี่ยวของในการจัดทำแผนการใชทดินมทั้งกฎหมาย ยุทธศาสตร แผนการปฏิรูป
                                                                  ี่
                                                                      ี
                  ประเทศ แผนพัฒนาระดับตาง ๆ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560  ยุทธศาสตร 20
                                                                                 ่
                                                                                                      ิ
                  ป (พ.ศ. 2560-2579) แผนการปฏิรูปประเทศดานทรัพยากรธรรมชาตและสิงแวดลอม : ทรัพยากรดน
                                                                             ิ
                                                          
                                                           ่
                                                           ี
                                                    ิ
                                   ิ
                  แผนพฒนาเศรษฐกจและสังคมแหงชาต ฉบับท 13 พ.ศ. 2566-2570 นโยบายและแผนการบริหาร
                       ั
                                                                       ั
                  จัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ (พ.ศ. 2560-2579) ดงนี  ้
                      4.1.1 ปรัชญาในการจัดทำแผนการใชที่ดินจังหวัด
                                                  ี่
                                                                                         ี
                          ในการจัดทำแผนการใชทดินจังหวัดฉบับนี้ไดใช “ปรัชญาเศรษฐกจพอเพยง” เปนหลัก ซง
                                                                                   ิ
                                                                                                      ึ่
                  เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดบ
                                                                                                      ั
                                                    ั
                                                    ้
                                                           ั
                                         ึ
                                              ั
                              ั
                  ครอบครัว ระดบชุมชน จนถงระดบรัฐ ทงในการพฒนาและบริหารประเทศใหดำเนินไปในทางสายกลาง
                  โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง
                                                  ื
                                                                                  ุ
                                                                                             ี
                  ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเปนท่จะตองมีระบบภูมิคมกันในตัวท่ดีพอสมควร
                                                                  ี
                  ตอการกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ท้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู
                                                                               ั
                                                    ่
                                         ั
                                                                    
                  ความรอบคอบ และความระมดระวังอยางยิงในการนำวิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผนและการดำเนินการ
                                                                                ิ
                                         ั
                                     ี
                                                                                                 ี
                                               
                                                                                                 ่
                      ั
                                                           ื
                                                           ้
                  ทกขนตอน และขณะเดยวกน จะตองเสริมสรางพนฐานจิตใจของคนในชาต โดยเฉพาะเจาหนาทของรัฐ
                   ุ
                      ้
                                                                           ื
                                                     ี
                                                                                             ี
                                               ั
                  นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดบ ใหมสำนึกในคุณธรรม ความซ่อสัตยสุจริต และใหมความรอบรู 
                                                          ี
                                                               ี
                  ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพยร มสติ ปญญา และความรอบคอบ เพอใหสมดุลและ
                                                                                           ื่
                  พรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม
                  และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2553) โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                         
                                                     ิ
                                                           ี
                          พระราชดำริวาดวยเศรษฐกจพอเพยง (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2553)
                                                             
                                                                                      ้
                                                                                      ื
                                                                                            ื
                              “...การพฒนาประเทศจำเปนตองทำตามลำดบขน ตองสรางพนฐานคอ ความพอม           ี
                                                                        ั
                                                                           ้
                                                                           ั
                                           ั
                  พอกิน พอใชของประชาชนสวนใหญเบื้องตนกอน โดยใชวิธีการและอุปกรณท่ประหยัดแตถูกตอง
                                                                                      ี
                                                   ่
                                                   ั
                                                                                
                                                                                                
                                                                              ิ
                                   ่
                                        ้
                  ตามหลักวิชาการ เมอไดพนฐานความมนคงพรอมพอสมควร และปฏิบัตไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริม
                                        ื
                                   ื
                  ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำดับตอไป...” (18 กรกฎาคม 2517)
                                            ิ
                                                                                         ็
                                                                                                    
                              “เศรษฐกจพอเพยง” เปนแนวพระราชดำริในพระบาทสมเดจพระเจาอยูหัว
                                                  ี
                   ่
                  ทีพระราชทานมานานกวา 30 ป เปนแนวคิดที่ตั้งอยูบนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เปนแนวทาง
                  การพฒนาทตงบนพนฐานของทางสายกลาง และความไมประมาท คำนึงถงความพอประมาณ ความมเหตผล
                                                                            ึ
                                  ื
                       ั
                                                                                                     ุ
                                  ้
                             ้
                                                               
                            ี
                             ั
                                                                                                  ี
                            ่
                                                           
                                 ั
                              
                                                                            ื
                                                                                                  ี
                              ุ
                                      ั
                  การสรางภูมิคมกนในตวเอง ตลอดจนใชความรูและคุณธรรม เปนพ้นฐานในการดำรงชีวิต ท่สำคัญ
                                                                      ุ
                  จะตองมี “สติ ปญญา และความเพียร” ซึ่งจะนำไปสู “ความสข” ในการดำเนินชีวิตอยางแทจริง
                                                                                                  ื
                              “...คนอื่นจะวาอยางไรก็ชางเขา จะวาเมืองไทยลาสมัย วาเมืองไทยเชย วาเมองไทย
                                                                                                      ิ
                                                                                                  
                         ่
                         ี
                                                            ุ
                           ั
                                             ี
                                                 ิ
                                
                     ี
                                                                                ี
                  ไมมสิ่งทสมยใหม แตเราอยูพอมพอกน และขอใหทกคนมีความปรารถนาท่จะใหเมองไทย พออยูพอกน
                    
                                                                                      ื
                                                                                               ิ
                                                       ิ
                  มีความสงบ และทำงานตั้งจิตอธิษฐานตั้งปณธาน ในทางนี้ที่จะใหเมองไทยอยูแบบพออยูพอกน ไมใชวา
                                                                                                   
                                                                          ื
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134