Page 37 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 37

3-3






                  แผนกำรใช้ที่ดินของชำติทั้งระบบที่มีควำมถูกต้อง แม่นย ำ และเป็นปัจจุบัน สอดคล้องและเหมำะสมกับ

                  ศักยภำพของพื้นที่และกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และ 2) เกษตรกรสำมำรถน ำข้อมูล
                  แผนกำรใช้ที่ดินผ่ำนระบบเครือข่ำยเทคโนโลยีสำรสนเทศและช่องทำงอื่นๆ ไปใช้ในกำรพัฒนำ

                                      ประเด็นย่อยที่ 2.2 ส่งเสริมกำรใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมี
                  เป้ำหมำยคือ 1) พื้นที่ทำงกำรเกษตรมีกำรใช้ประโยชน์ที่ดินที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีกำรขยำย

                  พื้นที่เขตเกษตรอินทรีย์อย่ำงเป็นรูปธรรม และ 2) พื้นที่กำรเกษตรในพื้นที่เสี่ยงต่อกำรชะล้ำงพังทลำย
                  ของดินมีกำรใช้ประโยชน์ที่ดินอย่ำงเหมำะสมและไม่เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

                                  4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2 5 6 4 )
                  มียุทธศำสตร์และแนวทำงกำรพัฒนำที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

                                      ยุทธศาสตร์ที่ 3 กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งทำงเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่ำงยั่งยืน โดย
                  มุ่งเน้นกำรเสริมสร้ำงและพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของภำคกำรผลิตและบริกำร ซึ่งมีแนว

                  ทำงกำรพัฒนำหลักที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กำรพัฒนำภำคกำรเกษตร ด้วยกำร 1) เสริมสร้ำงฐำนกำรผลิตภำค
                  เกษตรให้เข้มแข็งและยั่งยืน โดยพัฒนำและบ ำรุงรักษำแหล่งน้ ำเพื่อกำรเกษตรรวมทั้งจัดระบบกำรปลูก
                  พืชให้สอดคล้องปริมำณน้ ำที่หำได้ และคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภำพและขยำยโอกำสในกำร

                  เข้ำถึงพื้นที่ท ำกินของเกษตรกรให้มำกขึ้น 2) สร้ำงและถ่ำยทอดองค์ควำมรู้ทำงวิชำกำร วิทยำศำสตร์
                  เทคโนโลยี และนวัตกรรม และภูมิปัญญำท้องถิ่นด้ำนกำรเกษตรแบบมีส่วนร่วม โดยให้ควำมส ำคัญกับ

                  กำรพัฒนำรูปแบบและกระบวนกำรถ่ำยทอดควำมรู้เพื่อปรับระบบกำรผลิตที่เหมำะสมกับสภำพพื้นที่
                  และกำรเปลี่ยนแปลงของสภำพภูมิอำกำศให้แก่เกษตรกรอย่ำงเป็นรูปธรรม อำทิ กำรจัดท ำแปลง

                  ต้นแบบผ่ำนศูนย์เรียนรู้และศูนย์ถ่ำยทอดเทคโนโลยีในแต่ละพื้นที่ 3) เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถกำร
                  ผลิตในห่วงโซ่อุตสำหกรรมเกษตร โดยส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตพืช ปศุสัตว์ และกำรท ำประมงให้

                  สอดคล้องกับศักยภำพพื้นที่และควำมต้องกำรของตลำด (Zoning) 4) ส่งเสริมและเร่งขยำยผลแนวคิด
                  กำรท ำกำรเกษตรตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งเน้นกำรส่งเสริมให้เกษตรกรมีส่วนร่วม
                  ในกำรก ำหนดนโยบำยกำรเกษตรยั่งยืน ทั้งในรูปแบบเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสำน วนเกษตร

                  เกษตรอินทรีย์ เกษตรธรรมชำติ ควบคุมกำรใช้สำรเคมีกำรเกษตรที่เป็นอันตรำยต่อสุขภำพและ
                  สิ่งแวดล้อมอย่ำงเคร่งครัด และ 5) พัฒนำปัจจัยสนับสนุนในกำรบริกำรจัดกำรภำคเกษตรและสนับสนุน

                  เกษตรกรรุ่นใหม่ โดยกำรพัฒนำฐำนข้อมูลด้ำนอุปสงค์และอุปทำนด้ำนกำรเกษตร สร้ำงบุคลำกร
                  ด้ำนกำรเกษตร ด้วยกำรผลิตเกษตรกรรุ่นใหม่หรือด ำเนินนโยบำยบัณฑิตคืนถิ่น กำรจัดท ำหลักสูตร

                  กำรศึกษำที่เน้นกำรเรียนรู้จำกภำคปฏิบัติเพื่อสร้ำงเกษตรกรที่มีควำมรู้และมีควำมสำมำรถในกำร
                  ยกระดับกำรผลิต แปรรูปกำรตลำดและกำรบริหำรจัดกำรที่สำมำรถปรับตัวได้ทันตำมกำรเปลี่ยนแปลง

                  ของโลก และกำรปรับปรุงกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรเกษตรให้ทันสมัย
                                      ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้ำนกำรเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน
                  มุ่งเน้นกำรส่งเสริมกำรผลิตและกำรบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดนเน้นกำรบริหำรจัดกำร

                  ทรัพยำกรอย่ำงมีประสิทธิภำพและยั่งยืน ภำยใต้ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้แนวคิดตลอด
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42