Page 12 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 12

1-4






                            (5) วิเคราะห์นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ ทั้ง

                  ด้านการอนุรักษ์และพัฒนาที่มีผลต่อสถานภาพของทรัพยากรที่เป็นปัญหาในปัจจุบัน เพื่อเสนอแนะ
                  นโยบาย แนวทางการจัดการการใช้ที่ดิน และใช้พิจารณาการก าหนดเขตการใช้ที่ดินในการวางแผนการใช้ที่ดิน
                  ที่มีประสิทธิภาพ เป็นการแก้ปัญหาเชิงพื้นที่

                            (6) จัดท าแผนการใช้ที่ดิน โดยน าผลการวิเคราะห์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมมาประกอบการพิจารณา ตลอดจนนโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้องด้วยการ
                  สร้างแผนที่แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนครและก าหนดเขตการใช้ที่ดินให้เหมาะสมส าหรับกิจกรรมด้านต่างๆ
                  โดยใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                      1.4.6 การน าเสนอข้อมูล

                          1)  น าเสนอในรูปของรายงานแผนการใช้ที่ดินให้เหมาะสมส าหรับกิจกรรมด้านต่างๆ พร้อม
                  ข้อเสนอแนะแนวทางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละเขต ซึ่งได้จากผลการศึกษาวิเคราะห์
                  ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลเฉพาะด้าน

                          2)  น าเสนอในรูปของแผนที่แผนการใช้ที่ดิน ขนาดมาตราส่วน 1:25,000

                  1.5  ค ำนิยำมทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับแผนกำรใช้ที่ดินระดับจังหวัด

                        1.5.1 ที่ดิน (Land)
                            “ที่ดิน” หมายความว่า พื้นที่ดินทั่วไปและให้หมายความรวมถึง ภูเขา ห้วย หนอง คลอง
                  บึง บางล าน้ า ทะเลสาบ เกาะ และที่ชายทะเลด้วย (มาตรา 4 ประมวลกฎหมายที่ดิน)

                            “ที่ดิน” ในทางวิชาการด้านทรัพยากรที่ดิน หมายถึง “ชีวมณฑลบนพื้นผิวโลก
                  ประกอบด้วย ชั้นบรรยากาศ ชั้นดิน ชั้นหิน ลักษณะความลาดเทของพื้นที่ ลักษณะทางอุทกศาสตร์
                  พืช สัตว์ และผลที่เกิดจากการกระท าของมนุษย์ทั้งในอดีตและปัจจุบัน” (FAO, 1974)

                            “ที่ดิน” หมายถึง พื้นที่หนึ่งๆ ที่อยู่บนพื้นผิวของโลก ประกอบด้วยลักษณะที่ส าคัญ คือ
                  สภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและชีวภาพซึ่งมีอิทธิพลต่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดังนั้นที่ดินจึงไม่ได้
                  หมายถึงดินเพียงอย่างเดียวแต่จะหมายรวมถึงลักษณะภูมิสัณฐาน (landforms) ภูมิอากาศ (climate)
                  อุทกวิทยา (hydrology) พืชพรรณ (vegetation) และสัตว์ (fauna) ซึ่งการปรับปรุงที่ดิน (land
                  improvement) ได้แก่ การท าขั้นบันไดและการระบายน้ า เป็นต้น (FAO, 1993)


                        1.5.2 ดิน (Soil)
                            “ดิน” หมายความรวมถึง หิน กรวด ทราย แร่ธาตุ น้ า และอินทรียวัตถุต่างๆ ที่เจือปนกับ
                  เนื้อดินด้วย (มาตรา 4 พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551)
                            “ดิน” ในทางวิชาการด้านทรัพยากรที่ดิน หมายถึงเทหวัตถุธรรมชาติ ซึ่งเกิดขึ้นบน
                  พื้นผิวโลกเป็นวัตถุที่ค้ าจุนการเจริญเติบโต และการทรงตัวของต้นไม้ ประกอบด้วยแร่ธาตุ และ

                  อินทรียวัตถุต่างๆ มีลักษณะชั้นแตกต่างกัน แต่ละชั้นที่อยู่ต่อเนื่องกันจะมีแนวสัมพันธ์ซึ่งกันและกันตาม
                  ขบวนการก าเนิดดินที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากการกระท าร่วมกันของภูมิอากาศ พืชพรรณ วัตถุต้นก าเนิด
                  ดิน ระยะเวลา และความต่างระดับของพื้นที่ในบริเวณนั้น (FAO 1974: 39-40)

                            “ดิน” อินทรียวัตถุและอนินทรียวัตถุที่ไม่จับตัวแข็งเป็นหินซึ่งปกคลุมพื้นผิวโลก เป็นผลมา
                  จากปัจจัยด้านการก าเนิดและสภาพแวดล้อม ได้แก่ ภูมิอากาศ สิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์) สภาพภูมิประเทศ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17