Page 105 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 105

3-71





                  ตารางที่ 24  เนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต ผลผลิตต่อไร่ข้าวเหนียวนาปี ในช่วงปี พ.ศ. 2555-2560

                             ในพื้นที่จังหวัดสกลนคร


                                      เนื้อที่ เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว  ผลผลิต   ผลผลิตต่อไร่(กก.)
                           ปี
                                          (ไร่)         (ไร่)        (ตัน)         ปลูก       เก็บเกี่ยว

                         2555           1,451,277    1,213,351     440,456         303          363

                         2556           1,269,734    1,180,047     411,152         324          348

                         2557           1,395,045    1,375,168     444,340         319          323
                         2558           1,382,160    1,308,857     420,457         304          321

                         2559           1,470,319    1,443,750     520,534         354          361

                         2560           1,574,729    1,284,058     457,615         291          356

                    อัตราเพิ่ม (ร้อยละ)   1.98         1.65          1.55         -0.13        -0.17

                  ที่มา : ส ำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร (2561)


                                  2.2.2  วิถีกำรตลำดข้ำวเหนียวนำปี
                                          วิถีกำรตลำดข้ำวเหนียวนำปีของจังหวัดสกลนคร เกษตรกรผู้ปลูก
                  ข้ำวเหนียวนำปีส่วนใหญ่จะทยอยขำยข้ำวเปลือกในช่วงขำดเงินหมุนเวียน เนื่องจำกเกษตรกรผลิต
                  ข้ำวเหนียวเก็บไว้เพื่อบริโภคตลอดทั้งปี ขณะที่เกษตรกรจะปลูกข้ำวเจ้ำหอมมะลิเพื่อขำยเป็นส่วนใหญ่ ใน

                  ปี 2560 รำคำรับซื้อข้ำวเหนียวนำปีเฉลี่ย 8,200 บำทต่อตัน ซึ่งรำคำข้ำวเหนียวในปีนี้อยู่ในเกณฑ์ที่
                  เหมำะสมเป็นที่พอใจของเกษตรกร
                                          อย่ำงไรก็ตำมปริมำณผลผลิตข้ำวเหนียวนำปี ที่ผลิตได้ในพื้นที่
                  จังหวัดสกลนคร ยังไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรของผู้ประกอบกำรโรงสีข้ำว จึงมีกำรน ำเข้ำข้ำวเหนียว

                  นำปี จำกทุกจังหวัดใกล้เคียง โดยรับซื้อทั้งข้ำวเปลือกและข้ำวสำรจำกโรงสีต่ำงๆ สหกรณ์กำรเกษตร
                  และพ่อค้ำคนกลำงทั่วไป เป็นต้น

                  3.4  การวิเคราะห์ SWOT

                        การวิเคราะห์ศักยภาพ (SWOT) จังหวัดสกลนคร
                        การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน กำรวิเครำะห์ปัจจัยสภำพแวดล้อมภำยใน
                  เป็นกำรประเมินผลกำรวิเครำะห์ตำมสภำพพื้นที่และทรัพยำกรของจังหวัด แบ่งออกดังนี้

                        3.4.1 จุดแข็ง (Strength)
                            1.  ศูนย์ศึกษำกำรพัฒนำภูพำนอันเนื่องมำจำกพระรำชด ำริ เป็นแหล่งควำมรู้ 19
                  ผลส ำเร็จที่โดดเด่นในกำรประกอบอำชีพและด ำรงชีวิตของประชำชนตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง
                            2.  มีรำยได้จำกผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) (ต่อปี) ปี 2558
                              - เนื้อโคขุนโพนยำงค ำ                   จ ำนวน 487,948,600 บำท
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110