Page 108 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 108

3-74





                            2.  ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนกำรสอน O-NET ในระดับประถมศึกษำและมัธยมศึกษำอยู่ใน

                  ระดับต่ ำกว่ำ ค่ำกลำงของประเทศ โดยในระดับชั้น ม.3 ค่ำกลำงของประเทศ 34.95 คะแนน สกลนคร
                  เท่ำกับ 34.07 คะแนน
                            3.  จ ำนวนปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15-59 ปี ปี พ.ศ. 2559 ของจังหวัด

                  สกลนครมีค่ำเฉลี่ย 7.90 ปี ซึ่งต่ ำกว่ำค่ำเฉลี่ยระดับประเทศ 8.90 ปี
                            4.  จังหวัดสกลนคร มีอ่ำงเก็บน้ ำขนำดใหญ่ กลำง เล็ก จ ำนวน 295 แห่ง มีพื้นที่
                  ชลประทำน จ ำนวน 478,862 ไร่ ได้รับกำรพัฒนำแล้ว 140 แห่ง และอ่ำงเก็บน้ ำที่ต้องมีกำรพัฒนำ
                  จ ำนวน 155 แห่ง ซึ่งปริมำณน้ ำยังไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรของเกษตรกรในพื้นที่
                            5.  เกณฑ์เส้นควำมยำกจนของจังหวัดสกลนคร 2,475 บำท/เดือน (คนที่มีรำยได้ต่ ำกว่ำเส้น

                  ควำมยำกจน 218,500 คน คิดเป็นร้อยละ 23.58 ซึ่งมีค่ำสูงกว่ำค่ำเฉลี่ยในระดับประเทศที่มีสัดส่วนคนจน
                  เพียงร้อยละ 10.43)
                            6.  ก ำลังแรงงำนเข้ำสู่ระบบประกันสังคมต่ ำเมื่อเทียบกับประชำกรวัยแรงงำนทั้งหมด

                  ไตรมำสที่ 3 ปี พ.ศ. 2558 มีผู้อยู่ในก ำลังแรงงำน จ ำนวน 457,508 คน แยกเป็นแรงงำนที่ต้องเข้ำ
                  ระบบประกันสังคมภำคบังคับจ ำนวน 66,101 คน และภำคสมัครใจจ ำนวน 391,407 คน อยู่ในระบบ
                  ประกันสังคมแล้ว จ ำนวน 66,058 คน (ภำคบังคับ 28,163 คน และภำคสมัครใจ 37,895 คน) คิดเป็น
                  ร้อยละ 14.44 แสดงให้เห็นว่ำผู้ไม่อยู่ในระบบประกันสังคมมีถึง ร้อยละ 85.56

                             7.  จังหวัดสกลนครมีโรงฆ่ำสัตว์ทั้งหมด จ ำนวน 16 โรง ซึ่งทั้ง 16 โรง ไม่ผ่ำนมำตรฐำน
                  GMP เป็นอุปสรรคในกำรแข่งขันตลำดเนื้อสัตว์ในประชำคมประชำคมอำเซียน
                             8.  กำรเดินทำงจำกจังหวัดกำฬสินธุ์มำจังหวัดสกลนคร ต้องผ่ำนเทือกเขำภูพำนโดยใช้
                  เส้นทำง คมนำคมที่มีควำมคดเคี้ยวและลำดชันมีควำมสูงจำกระดับน้ ำทะเล 524 เมตร ท ำให้กำร

                  คมนำคมขนส่งต้องเสียเวลำและค่ำใช้จ่ำยในกำรขนส่งเพิ่มขึ้น
                             9.  พื้นที่ที่มีกำรปลูกจริงในปัจจุบันในพื้นที่ที่ไม่เหมำะสม ปี พ.ศ. 2558
                               - ข้ำว จ ำนวน 1,247,271 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 55.24 ของพื้นที่ปลูกทั้งหมด
                               - มันส ำปะหลัง จ ำนวน 35,809 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 21.24 ของพื้นที่ปลูกทั้งหมด

                               - อ้อยโรงงำน จ ำนวน 9,238 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 29.29 ของพื้นที่ทั้งหมด
                               - ยำงพำรำ จ ำนวน 41,971 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 10.81 ของพื้นที่ปลูกทั้งหมด กำรปลูก
                  พืชในพื้นที่ไม่เหมำะสมส่งผลให้ผลผลิตต่ ำ

                             10.  เกษตรกรขำดกำรรวมกลุ่มในกำรทำกำรเกษตร ท ำให้ขำดควำมเข้มแข็ง ขำดอ ำนำจ
                  ต่อรอง ในกำรจัดหำปัจจัยกำรผลิตและกำรจ ำหน่ำยผลผลิต กำรแปรรูปผลผลิตทำงกำรเกษตร รวมถึง
                  ยังไม่สำมำรถส่งเสริมกำรผลิตและกำรตลำดสินค้ำเกษตรอย่ำงครบวงจร ท ำให้มีต้นทุนกำรผลิตสูง
                  และจ ำหน่ำยผลผลิตได้ รำคำต่ ำ
                                 10.1. ระบบสำธำรณูปโภคด้ำนกำรประปำยังไม่สำมำรถให้บริกำรได้ครอบคลุม

                  ทุกพื้นที่โดยสำมำรถให้บริกำรได้เพียง ร้อยละ 10.75 ซึ่งต่ ำกว่ำค่ำเฉลี่ยระดับประเทศ ร้อยละ 15.77
                                  10.2. ผลผลิตทำงกำรเกษตร GAP ขำดกำรเชื่อมโยงกับตลำด รำคำไม่แตกต่ำง
                  เกษตรกรจึงไม่สนใจเข้ำสู่ระบบ  GAP
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113