Page 102 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสกลนคร
P. 102

3-68





                           ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2560 จังหวัดสกลนคร มีโรงงำนอุตสำหกรรมทั้งหมด 2,391 โรง เงิน

                  ลงทุนรวม 8,153 ล้ำนบำท และมีจ ำนวนคนงำน 7,862 คน โดยจ ำแนกออกเป็นจ ำพวกโรงงำนจ ำพวก
                  1 จ ำนวน 1,780 โรง เงินทุน 153 ล้ำนบำท คนงำน 2,083 คน โรงงำนอุตสำหกรรมจ ำพวก 2 จ ำนวน 194 โรง
                  เงินทุน 474 ล้ำนบำท คนงำน 956 คน โรงงำนอุตสำหกรรมจ ำพวก 3 จ ำนวน 417 โรง เงินทุน 7,526

                  ล้ำนบำท คนงำน 4,821 คน อ ำเภอที่มีจ ำนวนโรงงำนอุตสำหกรรมมำกที่สุด คือ เมืองสกลนคร มี
                  จ ำนวนโรงงำน 497 โรง  เงินทุน 2,039 ล้ำนบำท คนงำน 2,595 คน รองลงมำ คือ อ ำเภอสว่ำงแดนดิน
                  มีโรงงำน 354 โรง เงินทุน 1,400 ล้ำนบำท คนงำน 1,101 คน อ ำเภอที่มีโรงงำนน้อยที่สุด คือ อ ำเภอภูพำน
                  มีจ ำนวนโรงงำน 14 โรง เงินทุน 8  ล้ำนบำท คนงำน 34 คน
                        2) การวิเคราะห์อุปสงค์-อุปทาน และวิถีตลาดสินค้าเกษตรที่ส าคัญ จังหวัดสกลนคร

                           จำกข้อมูลของส ำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร (2560) ภำคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยนั้น
                  ถือเป็นพื้นที่แหล่งเพำะปลูกข้ำวเพื่อส่งออกเป็นหลักของประเทศ โดยจังหวัดสกลนครมีพื้นที่
                  เพำะปลูกข้ำวนำปี เป็นอันดับที่ 8 ของภำคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีพื้นที่เพำะปลูกข้ำวในปี 2560

                  จ ำนวน 3,549,104 ไร่ ปริมำณผลผลิต 762,226 ตัน ผลผลิตต่อไร่ 404 กิโลกรัม แยกเป็นพื้นที่ปลูก
                  ข้ำวเจ้ำ 465,606 ไร่ พื้นที่ปลูกข้ำวเหนียว 3,083,498 ไร่ เพื่อเป็นกำรเตรียมควำมพร้อมและหำข้อ
                  ได้เปรียบทำงกำรค้ำและสร้ำงรำยได้อย่ำงยั่งยืนให้กับประเทศ กำรศึกษำอุปสงค์ (Demand) และ
                  อุปทำน (Supply) สินค้ำข้ำวในพื้นที่จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลัก จึงเป็นแนวทำงหนึ่งที่จะ

                  เป็นกลไกขับเคลื่อน กำรบริหำรจัดกำรสินค้ำเกษตรให้เกิดควำมสมดุลทั้งด้ำนกำรผลิตและเกิดควำม
                  ยุติธรรมในด้ำนรำคำที่คุ้มทุน ทั้งผู้ซื้อและผู้ขำย และสำมำรถน ำมำประยุกต์ใช้วิเครำะห์นโยบำยต่ำงๆ
                  เช่น นโยบำยด้ำนกำรเกษตรเพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันสินค้ำเกษตรอื่นๆ เพื่อสร้ำงรำยได้
                  และเกิดควำมมั่งคั่งยั่งยืนในอำชีพเกษตรกรรม

                           ข้อมูลจำกแผนพัฒนำจังหวัดสกลนคร ปี พ.ศ. 2558-2561 ได้ก ำหนดวิสัยทัศน์ เพื่อก ำหนด
                  ทิศทำงกำรพัฒนำจังหวัด คือ “เป็นแหล่งเกษตรปลอดภัย ก้ำวไกลกำรค้ำ พัฒนำแหล่งท่องเที่ยว”
                  และมีเป้ำประสงค์คือ พัฒนำกำรเกษตรและอุตสำหกรรมกำรเกษตรสู่ควำมมั่นคงและยั่งยืน มีกำร
                  พัฒนำผลิตภัณฑ์ชุมชนในจังหวัดให้มีคุณภำพมำตรฐำนระดับอำเซียนเป็นแหล่งท่องเที่ยว 3 ธรรม

                  ที่ได้รับกำรยอมรับในระดับประเทศ
                           ประเด็นยุทธศำสตร์ที่ 1 กำรพัฒนำกำรเกษตรและอุตสำหกรรมกำรเกษตรตำมหลักปรัชญำ
                  เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีกลยุทธ์คือ

                           1. เพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตทั้งในเชิงปริมำณ คุณภำพ และมำตรฐำน
                           2. สร้ำงควำมเข้มแข็งของสถำบันกำรเกษตร
                             2.1)  ข้าวเจ้านาปี
                                  2.1.1)  สถำนกำรณ์กำรผลิต
                                          พันธุ์ข้ำวเจ้ำนำปี ที่นิยมปลูกมำกในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ นิยมใช้

                  พันธุ์ขำวดอกมะลิ 105 เป็นพันธุ์ที่ตลำดมีควำมต้องกำรสูง ซึ่งทนต่อสภำพดินเค็ม ดินเปรี้ยว ทนแล้ง
                  ลักษณะเด่นของเมล็ดข้ำวสำรลื่นมันวำว เม็ดเรียวสวยงำม เมื่อหุงจะมีกลิ่นหอมคล้ำยดอกมะลิและนุ่ม
                  ส่วนพันธุ์ กข15 มีลักษณะใกล้เคียงกันแต่มีอำยุกำรเก็บเกี่ยวที่สั้นกว่ำประมำณ 10-15 วัน ส ำหรับพันธุ์

                  ข้ำวเจ้ำนำปรังนิยมปลูกพันธุ์ปทุมธำนี 1 และพันธุ์ชัยนำท 1
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107