Page 99 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดราชบุรี
P. 99

3-13





                  3.3  ทรัพยากรดิน

                        3.3.1 สถานภาพทรัพยากรดิน
                                  1) ทรัพยากรดิน

                                      ทรัพยากรดินของจังหวัดราชบุรี ประกอบด้วย (รูปที่ 3-5)
                                      (1)   ดินในพื้นที่ราบลุ่ม พบตั้งแต่ที่ราบน้ าทะเลท่วมถึง ที่ราบน้ าทะเลเคยท่วมถึงที่ราบ
                  ตะกอนน้ าพา ที่ราบระหว่างเนินเขา แอ่งต่ าที่ราบน้ าท่วมถึงตะพักล าน้ า เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดพวก ตะกอน
                  น้ าทะเล ตะกอนน้ ากร่อย หรือตะกอนน้ าพา มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีการแช่ขัง
                  ของน้ าและมีระดับน้ าใต้ดินอยู่ใกล้ผิวดินในช่วงฤดูฝน ดินมีการระบายน้ าดีปานกลางถึงเลว มีสีด า สีเทา

                  สีเทาอ่อน สีเทาเข้ม สีเทาปนน้ าตาล สีน้ าตาลปนเทา หรือสีเทาปนเขียว พบจุดประสีต่างๆตลอดหน้าตัดดิน
                  หรือบางชั้นของหน้าตัดดิน เช่น จุดประสีแดง สีแดงปนเหลือง สีน้ าตาลปนเหลือง สีเหลืองปนน้ าตาล
                  สีน้ าตาลเข้ม ที่บ่งบอกถึงการมีน้ าแช่ขังในหน้าตัดดิน มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นด่างปานกลาง

                  ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ าถึงสูง บางบริเวณพบจุดประสีเหลืองฟางข้าว อยู่ลึกกว่า 100 เซนติเมตร ซึ่งเป็น                                          3-13
                  ดินมีก ามะถันสูง และบางบริเวณถูกปรับสภาพพื้นที่เพื่อใช้ประโยชน์ที่ดินโดยการยกร่อง โดยจ าแนกตาม
                  ลักษณะของเนื้อดินและสมบัติบางประการที่เด่นชัด ได้เป็น 5 กลุ่ม ดังนี้
                                            - กลุ่มดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ดินร่วนเหนียวปนทราย

                  ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ดินเหนียวปนทรายแป้ง หรือดินเหนียว ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง
                  ดินเหนียวปนทรายแป้ง หรือดินเหนียว ได้แก่ ชุดดินบ้านหมี่ (Bm) ชุดดินบางกอก (Bk) ชุดดินบางเลน (Bl)
                  ชุดดินบางเขน (Bn) ชุดดินบางแพ (Bph) ชุดดินสิงห์บุรี (Sin) ชุดดินปากท่อ (Pth) ชุดดินมโนรมย์ (Mn)
                  ชุดดินเดิมบาง (Db) ชุดดินนครปฐม (Np) และชุดดินราชบุรี (Rb)

                                            - กลุ่มดินที่มีการยกร่อง มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ดินเหนียวปน
                  ทรายแป้ง หรือดินเหนียว ดินล่างเป็นดินเหนียวปนทรายแป้ง หรือดินเหนียว ได้แก่ ชุดดินด าเนินสะดวก (Dn)
                  ชุดดินสมุทรสงคราม (Sso) และชุดดินธนบุรี (Tb)
                                            - กลุ่มดินเปรี้ยวจัด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแป้ง

                  ส่วนดินล่างเป็นดินเหนียว พบจุดประสีเหลืองฟางข้าว อยู่ลึกกว่า 100 เซนติเมตร ดินมีกรดก ามะถันสูง
                  และปฏิกิริยาเป็นกรดจัดมาก ได้แก่ ชุดดินอยุธยา (Ay) และชุดดินท่าขวาง (Tq)
                                            - กลุ่มดินร่วนละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ดินล่างเป็นดินร่วนเหนียว

                  ปนทราย ได้แก่ ชุดดินเขาย้อย (Kyo)
                                            - กลุ่มดินร่วนหยาบ มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วนปนทรายแป้ง หรือ
                  ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วน ดินร่วนปนดินเหนียว ได้แก่ ชุดดินสรรพยา
                  (Sa) ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนมีการระบายน้ าเลว (AC-pd) และดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนมีการระบายน้ า

                  ค่อนข้างเลว (AC-spd)
                                      (2)   ดินในพื้นที่ดอน พบตั้งแต่บริเวณสันทรายชายทะเล สันดินริมน้ า ตะพักล าน้ า ลานตะพัก
                  เชิงเขา เนินเขา หรือบริเวณพื้นที่เหลือค้างจากการกัดกร่อน เกิดจากวัตถุต้นก าเนิดพวกตะกอนทรายทะเล
                  ตะกอนน้ าพา การผุพังสลายตัวอยู่กับที่ และ/หรือเคลื่อนย้ายมาเป็นระยะทางไม่ไกลนักของหินชนิดต่างๆ

                  มีสภาพพื้นที่เป็นราบเรียบถึงเนินเขา ดินมีการระบายน้ าค่อนข้างมากถึงดีปานกลาง มีสีด า สีน้ าตาล สีน้ าตาลอ่อน
                  สีน้ าตาลเข้ม สีน้ าตาลปนเทา สีน้ าตาลปนเหลือง สีน้ าตาลปนแดง สีน้ าตาลปนแดงเข้ม บางบริเวณพบ
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104