Page 134 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดราชบุรี
P. 134

5-6





                                        ข้อเสนอแนะการใช้พื้นที่ในเขตฟื้นฟูสภาพป่าธรรมชาติ

                                        - ก าหนดมาตรการและแนวทางในการป้องกันมิให้ราษฎรบุกรุกพื้นที่ในเขตนี้ เพื่อ
                  น ากลับมาใช้ด้านการเกษตรรวมทั้งป้องกันมิให้มีการเปิดพื้นที่ป่าเพื่อท าการเกษตรเพิ่ม
                                        - ควรจัดท าแนวกันไฟเพื่อป้องกันไฟป่าที่อาจเกิดขึ้นได้จากธรรมชาติหรือจาก

                  กิจกรรมของมนุษย์ เพื่อให้ป่าไม้มีการฟื้นตัวตามธรรมชาติที่สมบูรณ์
                                  2.3) เขตฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติภายใต้เงื่อนไข(สัญลักษณ์แผนที่ 123) เขตนี้มี

                  เนื้อที่ 103,354 ไร่ หรือร้อยละ 3.18 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่ในเขตนี้ปัจจุบันเป็นบริเวณที่มีการใช้
                  ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกยางพารา สับปะรด และมะพร้าว
                                        ข้อเสนอแนะการใช้พื้นที่ในเขตฟื้นฟูสภาพป่าธรรมชาติ

                                    - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541
                  เรื่อง มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาที่ดินป่าไม้ โดยมุ่งเน้นแก้ไขปัญหาในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตาม
                  กฎหมาย เช่น เขตอุทยานแห่งชาติ และพื้นที่ป่าอนุรักษ์ตามมติคณะรัฐมนตรี ก าหนดให้กรมป่าไม้ส ารวจ
                  พื้นที่ที่มีการครอบครองให้ชัดเจน
                                    - ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2540

                  เรื่อง แผนการจัดการทรัพยากรที่ดินและป่าไม้ระดับพื้นที่ เพื่อให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดิน
                  และป่าไม้อย่างมีระบบโดยให้มีการอนุรักษ์ควบคู่กับการพัฒนาที่ยั่งยืน และสงวนรักษาไว้ซึ่งทรัพยากร
                  ป่าไม้ที่เหลืออยู่รวมถึงฟื้นฟูป่าที่เสื่อมสภาพ โดยต้องอยู่บนหลักในการลดปัญหาความขัดแย้งของการใช้
                  ทรัพยากรในพื้นที่

                                    - ควรเพิ่มมาตรการในการอนุรักษ์ที่เข้มงวด จริงจังและต่อเนื่อง เพื่อคงสภาพป่าไม้ให้
                  มีความสมบูรณ์ โดยการพัฒนาด้านต่างๆ ต้องค านึงถึงความยั่งยืนของระบบนิเวศและผลกระทบต่อ
                  พื้นที่ลุ่มน้ าด้านล่างโดยเฉพาะแนวทางจัดการให้พื้นที่ป่าไม้เป็นตัวควบคุมปริมาณน้ าในลุ่มน้ าในเวลาที่
                  เหมาะสม เช่น การสร้างฝายชะลอน้ าในบริเวณที่เหมาะสม

                                    - ควรเร่งปลูกป่าทดแทนและฟื้นฟูสภาพป่าเพื่อรักษาระบบนิเวศลุ่มน้ าบริเวณพื้นที่
                  ที่มีความลาดชันสูง และพื้นที่เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย โดยเพิ่มมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า
                  ที่เหมาะสม เช่น การปลูกหญ้าแฝกและสร้างฝายชะลอน้ า เป็นต้น

                                    - ควรส่งเสริมและรณรงค์ให้ราษฎรในพื้นที่เห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้และ
                  มีส่วนร่วมในการดูแลและบ ารุงรักษาผืนป่าในพื้นที่ร่วมกัน

                        5.1.2 เขตพื้นที่เกษตรกรรม
                             เขตพื้นที่เกษตรกรรม ได้แก่ พื้นที่นอกเขตที่มีการประกาศเป็นเขตป่าไม้ตามกฎหมาย ซึ่ง
                  รัฐได้ก าหนดเป็นพื้นที่ท ากินมีการออกเอกสารสิทธิ์ รวมถึงพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

                  (ส.ป.ก.) ที่ดินเอกชน แปลงที่ดินท ากินตามนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) และพื้นที่ราชพัสดุซึ่งอยู่นอกเขต
                  ป่าไม้ตามกฎหมาย เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ที่ดินจึงเป็นปัจจัยส าคัญและเป็น
                  รากฐานของการผลิตทางการเกษตร ซึ่งจ าเป็นต้องบ ารุงรักษาและฟื้นฟูดิน รวมทั้งพัฒนาให้เหมาะสมแก่
                  การประกอบการเกษตรได้อย่างยั่งยืนและน าไปสู่การเป็นแหล่งผลิตอาหารที่ส าคัญของโลก และจากผล
                  ของการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน ท าให้มีการน าที่ดินที่เหมาะสมกับการเกษตรไปใช้เพื่อกิจกรรมอื่นๆ
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139