Page 65 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 65

3-7





                      3. คุณภาพน้้าใต้ดิน

                        ในการศึกษาคุณภาพน้ าใต้ดินของจังหวัดระนอง พิจารณาจากปริมาณของแข็งที่ละลาย
                  เจือปนอยู่ในน้ า ซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่าเนื่องจากเล็กมาก (Tds) มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อลิตร
                  นอกจากนี้พิจารณาควบคู่กับอัตราการให้น้ า (Yield) มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง

                  ซึ่งรายละเอียดดังตารางที่ 3-2
                        จากการศึกษาพบว่า อัตราการให้น้ าน้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณของแข็ง
                  ที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าน้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเนื้อที่มากที่สุด รองลงมาเป็น อัตราการให้น้ า
                  ระหว่าง 2-10 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าระหว่าง 500-
                  1,500 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามล าดับ


                  ตารางที่ 3-2 คุณภาพและอัตราการให้น้้าของน้้าใต้ดินในจังหวัดระนอง
                                                                              เนื้อที่
                                  ค้าอธิบาย
                                                                      ไร่                  ร้อยละ
                   Yield <2, Tds <500                              1,666,596               80.85
                   Yield >20, Tds <500                               875                    0.04
                   Yield 10-20, Tds <500                            6,158                   0.30
                   Yield 2-10, Tds <500                            193,298                  9.38
                   Yield 2-10, Tds >1,500                            879                    0.04
                   Yield 2-10, Tds 500-1,500                       193,472                  9.39
                                ผลรวมทั้งหมด                      2,061,278                100.00

                  หมายเหตุ: Tds   คือ ปริมาณของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ าซึ่งมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า (มิลลิกรัมต่อลิตร)
                                Yield คือ อัตราการให้น้ า มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง

                      4. ศักยภาพการพัฒนาน้้าใต้ดิน
                        จากข้อมูลคุณภาพน้ าบาดาล พบว่าในเบื้องต้นบริเวณที่มีศักยภาพในการพัฒนาน้ าใต้ดินด้วย

                  วิธีการขุดเจาะบ่อบาดาล คือบริเวณที่มีอัตราการให้น้ ามากกว่า 20 ลูกบาศก์เมตรต่อชั่วโมง และมีค่า
                  ปริมาตรของแข็งที่ละลายเจือปนอยู่ในน้ า น้อยกว่า 500 มิลลิกรัมต่อลิตร มีเนื้อที่ 875 ไร่ พบอยู่บริเวณ
                  อ าเภอสุขส าราญ มีรายละเอียดดังรูปที่ 3-3
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70