Page 63 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 63

3-5





                        โครงการพัฒนาแหล่งน้้าผิวดิน เป็นโครงการชลประทาน 1 โครงการ คือ โครงการ

                  ชลประทานหาดส้มแป้น ซึ่งใช้ในการอุปโภคและบริโภคเป็นหลัก โดยมีพื้นที่ชลประทาน 1,500 ไร่

                      2. น้้าใต้ดิน
                        น้ าใต้ดินในหัวข้อนี้จะพิจารณาเฉพาะน้ าบาดาลซึ่งเกิดจากน้ าบางส่วนที่เหลือจากการกักเก็บ
                  ที่ผิวดินไหลซึมลงไปใต้ดินไปถูกกักเก็บไว้ทั้งในดิน และในหิน ชั้นดินหรือหินส่วนนี้ไม่มีน้ าอยู่เต็ม
                  ทุกช่องว่าง หินส่วนล่างซึ่งอยู่ใต้ระดับน้ าใต้ดินลงไป และมีน้ าบรรจุอยู่เต็มทุกช่องว่างเรียกว่า โซนอิ่มตัว

                  ด้วยน้ าซึ่งถือเป็นแหล่งน้ าบาดาล หินที่เป็นแหล่งน้ าบาดาลนี้เรียกรวมๆ กันว่า หินอุ้มน้ า (เจริญ, 2540)
                        จากข้อมูลของกรมทรัพยากรน้ าบาดาล (2557) พบว่าพื้นที่จังหวัดระนอง มีชั้นหินอุ้มน้ า จ านวน 5
                  ประเภท (รูปที่ 3-2) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

                        2.1  ชั้นน้ าหินอุ้มน้ าตะกอนทรายชายหาด มีเนื้อที่ประมาณ 331 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.02 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด
                        2.2  ชั้นหินอุ้มน้ าหินคาร์บอเนต อายุเพอร์เมียน มีเนื้อที่ประมาณ 2,197 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                  0.11 ของเนื้อที่จังหวัด

                        2.3 ชั้นหินอุ้มน้ าแกรนิต มีเนื้อที่ประมาณ 743,927 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 36.09 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด
                        2.4  ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนน้ าพา มีเนื้อที่ประมาณ 183,059 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 8.88 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด

                        2.5  ชั้นหินอุ้มน้ าหินชั้นกึ่งแปร อายุเพอร์เมียน คาร์บอนิเฟอรัส มีเนื้อที่ประมาณ 1,131,764
                  ไร่ คิดเป็นร้อยละ 54.90 ของเนื้อที่จังหวัด
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68