Page 37 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 37

2-21






                  ตารางที่ 2-7 ร้อยละการผลิตและราคายางพาราแผ่นดิบจังหวัดระนอง ปี 2560


                    รายการ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.  เฉลี่ย

                    การผลิต
                    (ร้อยละ)   13.28  10.15  9.10   3.21   4.18   9.40   0.60   0.75   11.34  12.54  12.09  8.36
                     *ราคา   78.34  81.23  69.80  66.08  66.30  51.48  48.24  50.48  50.85  44.08  40.15  39.85  57.24
                   (บาท/กก.)
                  หมายเหตุ: ราคาบางแผ่นดิบชั้น 3 ที่เกษตรกรขายได้ ปี 2560
                  ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 (2562)

                   100
                    80
                    60
                    40

                    20
                     0
                          ม.ค.  ก.พ.   มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.   ธ.ค.

                                                การผลิต (ร้อยละ)   *ราคา (บาท/กก.)

                  รูปที่ 2-6 ร้อยละการผลิตและราคายางพาราแผ่นดิบจังหวัดระนอง ปี 2560


                                         (2)   การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจของพืชเศรษฐกิจและพืชทางเลือก
                                              ต้นทุนการผลิตยางพารา จังหวัดระนอง ปี 2560 ในพื้นที่เหมาะสม
                  ส าหรับการปลูก (S1,S2) เท่ากับ 9,286.14 บาท/ไร่ มีผลผลิตเฉลี่ย 207.46 กิโลกรัม/ไร่ ราคา
                  ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 48.27 บาท/กิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตหรือผลตอบแทนเท่ากับ

                  10,013.85 บาท/ไร่ เมื่อหักด้วยต้นทุนรวมต่อไร่แล้วมีผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับเท่ากับ 727.71
                  บาท/ไร่
                                              ในขณะที่ต้นทุนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูก (S3,N)

                  เท่ากับ 9,921.10 บาท/ไร่ มีผลผลิตเฉลี่ย 204.00 กิโลกรัม/ไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยอยู่ที่ 48.27
                  บาท/กิโลกรัม มูลค่าการขายผลผลิตหรือผลตอบแทนเท่ากับ 9,847.08 บาท/ไร่ เมื่อหักด้วยต้นทุนรวม
                  ต่อไร่แล้วมีผลตอบแทนสุทธิที่เกษตรกรได้รับเท่ากับ -74.02 บาท/ไร่
                                              เมื่อพิจารณาอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (BCR) พบว่า ในพื้นที่

                  เหมาะสม (S1,S2) และพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3,N) เท่ากับ 1.08 และ 0.99 ตามล าดับ ในพื้นที่เหมาะสม
                  (S1,S2) มีค่ามากกว่า 1 แสดงให้เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน พื้นที่ไม่เหมาะสม (S3,N)  มีค่าน้อยกว่า 1
                  แสดงให้เห็นว่าไม่คุ้มค่ากับการลงทุน จึงควรแนะน าให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น (ตารางที่
                  2-8
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42