Page 36 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 36

2-20






                  ยางพาราของเกษตรกรในพื้นที่ทั้งหมด ส่วนใหญ่จะถูกน าไปขายในรูปของยางก้อนถ้วย คิดเป็นร้อยละ

                  99.38 และยางแผ่นดิบ ร้อยละ 0.62 โดยผลผลิตยางก้อนถ้วย ส่วนมากจะถูกขายให้พ่อค้าคนกลาง
                  ซึ่งเป็นพ่อค้าเร่ พ่อค้าระดับหมู่บ้านหรือต าบล และพ่อค้าระดับอ าเภอหรือจังหวัด และขายผ่านสหกรณ์
                  หรือกลุ่มเกษตรกร ส าหรับผลผลิตในรูปยางแผ่นดิบ ช่องทางจ าหน่าย จะถูกขายผ่านพ่อค้าคนกลางขาย

                  ผ่านสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร และเกษตรกรรายใหญ่บางรายจะขายตรงให้โรงงานแปรรูป (รูปที่ 2-5)


                                                                            สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร


                    ข้อมูลพื้นฐาน ปี 60
                    เกษตรกร 14,341ราย
                    เนื้อที่ยืนต้น 0.31 ล้านไร่   ยางแผ่นดิบ                 โรงงานแปรรูปขั้นต้น
                    เนื้อที่กรีด 0.27 ล้านไร่                           ยางแผ่น ก าลังผลิต 249 ตัน/ปี
                     ผลผลิตดิบ 68,978 ตัน        0.62%                  ยางแท่ง ก าลังผลิต 39,990 ตัน/ปี
                    ผลผลิตต่อไร่ 252 กก.

                                                ยางแผ่นดิบ
                                                 0.62%                          พ่อค้าคนกลาง


                  รูปที่ 2-5 โครงสร้างการตลาดยางพาราจังหวัดระนอง ปี 2560
                  ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 8 (2562)

                                              ฤดูกาลกรีดยางในพื้นที่จังหวัดระนอง จะเริ่มเปิดกรีดในช่วงต้นฤดูฝน
                  ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมไปจนถึงกุมภาพันธ์ในปีถัดไป และเกษตรกรจะเริ่มหยุดกรีดยางเมื่อเข้าสู่ฤดูแล้ง
                  เมื่อต้นยางผลัดใบตั้งแต่ช่วงปลายเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน โดยปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดมาก
                  ที่สุดในช่วงเดือนมกราคม เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเหมาะสม จ านวนวันกรีดยางได้มาก และน้ ายาง
                  ออกดี ส าหรับลักษณะการจ าหน่ายยางพาราของเกษตรกร ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 99.38 จะขายใน

                  รูปยางก้อนถ้วย รองลงมาคือ ขายยางแผ่นดิบร้อยละ 0.62 ทั้งนี้ คาดว่าในปี 2561 ปริมาณผลผลิต
                  ยางพาราของจังหวัดจะมีประมาณ 0.72 แสนตัน ขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 4.35 จากปี 2560 (ส่วน
                  ปฏิบัติการข้อมูลการเกษตร, สศก. ข้อมูลพยากรณ์ ณ วันที่ 22 มีนาคม 2561) เนื่องจากเนื้อที่กรีด
                  เพิ่มขึ้น ในขณะที่ราคายางพาราแผ่นดิบชั้น 3 ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย 57.24 บาท/กิโลกรัม (ตารางที่ 2-
                  7 และ รูปที่ 2-6)
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41