Page 120 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 120

5-18





                          2.7  เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ รณรงค์ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตส านึกให้

                  ประชาชน องค์กรชุมชน องค์กรธุรกิจ ได้ตระหนักถึงผลกระทบจากการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
                  และสิ่งแวดล้อมของป่าต้นน้ าล าธาร เพื่อกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการป้องกัน เฝ้าระวัง แก้ไขปัญหา
                  และพัฒนาอย่างยั่งยืน

                          2.8  พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อจัดท าฐานข้อมูลพื้นที่ป่าไม้
                  และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ โดยใช้ระบบเทคโนโลยี และภาพถ่ายดาวเทียมในการติดตาม
                  ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ และการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ เพื่อให้ทราบถึงข้อเท็จจริง
                  และสามารถวางระบบการจัดการแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
                        2.9   เร่งรัดให้มีการแก้ไข และเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากร

                  ธรรมชาติที่บังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน และตรากฎหมายขึ้นใหม่ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันเพื่อน าไปสู่
                  การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพเป็นธรรม และยั่งยืน
                        2.10  การขับเคลื่อนการจัดที่ดินท ากินให้กับชุมชน โดยคณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด

                  (คสช.จังหวัด) เพื่อจัดสรรที่ดินท ากิน และที่อยู่อาศัยให้แก่เกษตรกรที่ยากไร้ และเกษตรกรตามหลักการ
                  ของคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ

                        3. มาตรการด้านทรัพยากรน้่า
                          3.1   มาตรการในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต้องยึดนโยบาย
                  ของคณะกรรมการทรัพยากรน้ าแห่งชาติ (กนช.) และคณะกรรมการลุ่มน้ าเป็นหลัก เพื่อให้เกิดการ

                  พัฒนาแบบบูรณาการร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัย และภัยแล้ง การขาดแคลนน้ าเพื่อใช้ใน
                  ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม การอุปโภค และบริโภค ตลอดจนปัญหาน้ าเน่าเสีย และคุณภาพของน้ า
                  ที่อยู่ในเกณฑ์ต่ า
                          3.2   ใช้มาตรการทางกฎหมายเพื่อการจัดการบริหารน้ า โดยการก าหนดพระราชบัญญัติ

                  ทรัพยากรน้ าหรือปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ า การพัฒนาแหล่งน้ า และการควบคุม
                  การใช้น้ าให้สอดคล้องกัน และก าหนดสิทธิหน้าที่ของผู้ใช้น้ าให้ชัดเจน
                          3.3  จัดท าทะเบียนแหล่งน้ า พื้นที่ชุ่มน้ าในระดับต าบล

                          3.4   พัฒนาปรับปรุง และอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน้ าอย่างเป็นระบบ เพื่อเพิ่มปริมาณน้ าต้นทุนใน
                  แหล่งน้ าที่มีศักยภาพในการกักเก็บให้มีปริมาณน้ าเพียงพอกับความต้องการ และคุณภาพน้ าอยู่ในเกณฑ์ดี
                  สามารถใช้ได้อย่างยั่งยืน
                          3.5  ศึกษาความเป็นไปได้ในการน าน้ าใต้ดินมาใช้ในการเกษตร หรือเพื่อการอุปโภคบริโภค
                          3.6   ส่งเสริม และสนับสนุนให้องค์กรส่วนท้องถิ่น และประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการดูแล

                  อนุรักษ์ บริหารจัดการทรัพยากรน้ าในพื้นที่ โดยการจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ าพิจารณาร่วมกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
                  เพื่อให้การจัดสรรน้ ามีความเป็นธรรม สอดคล้องกับระบบนิเวศ และวัฒนธรรมการจัดการน้ าในแต่ละ
                  ท้องถิ่น

                          3.7  ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากน้ าแร่ จัดให้มีการใช้ประโยชน์จากน้ าแร่ร้อนอย่างมีคุณภาพ
                  เป็นไปอย่างทั่วถึงเป็นธรรมชาติ และยั่งยืน
                          3.8  พัฒนา และปรับปรุงแหล่งน้ าที่เป็นที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ อนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม
                  ดั้งเดิมให้คงอยู่ รวมทั้งเสริมสร้างมาตรฐานความปลอดภัยด้านการท่องเที่ยว
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125