Page 123 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 123

5-21





                              3)  เร่งส ารวจ และจัดท าแนวเขตที่ดิน และการใช้ประโยชน์ที่ดินของรัฐให้ถูกต้องชัดเจน

                  ไม่ทับซ้อนเขตที่ดินของชุมชน และภาคเอกชน และพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่ดิน และแผนที่ในระบบ
                  สารสนเทศภูมิศาสตร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
                              4)  พัฒนาองค์ความรู้ในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมโดย

                  การส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาชุมชนและนักวิชาการในท้องถิ่นมีส่วนร่วม
                              5)  เพิ่มพื้นที่ และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ และพัฒนาระบบบริหารที่ดิน และแก้ไขการบุกรุก
                  ที่ดินของรัฐ
                              6)  ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ าทั้งระบบอย่างยั่งยืน และสร้าง
                  ความมั่นคง และเท่าเทียมด้านน้ าเพื่อการบริโภค อุปโภค และน้ าเพื่อสนับสนุนภาคการผลิต

                              7)  สร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ลดมลพิษ และผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน
                  และระบบนิเวศโดยเฉพาะปัญหาการจัดการขยะ คุณภาพน้ า และอากาศ
                          2.2   การบริหารจัดการด้านเกษตรกรรม

                              1)  ควรก าหนดนโยบาย และมาตรการเพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างถูกต้อง
                  เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับเกษตรที่ผลิตพืชตามเขตที่ก าหนดการใช้ที่ดินไว้
                  ได้แก่ การประกันรายได้เกษตรกร การให้สิทธิพิเศษส าหรับเกษตรกรที่ปลูกพืชตามเขตการใช้ที่ดินที่
                  ก าหนด เช่น การสนับสนุนด้านเงินทุนดอกเบี้ยต่ า และใช้มาตรการด้านภาษี

                              2)  เร่งรัดออกพระราชบัญญัติคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อป้องกันไม่ให้เกษตรกร
                  สูญเสียที่ดิน และควบคุมการใช้ที่ดิน ซึ่งเป็นรากฐานของการผลิตทางการเกษตร และน าไปสู่การเป็น
                  แหล่งผลิตอาหารที่ส าคัญต่อไป
                              3)  ส่งเสริมการท าเกษตรกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการลดการใช้สารเคมี และ

                  ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต
                            4)  ส่งเสริม และถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมให้เกษตรกรด าเนินการผลิตตามระบบ
                  เกษตรที่ดี (GAP) โดยการอบรมแนะน าความรู้ต่างๆ เช่น วิธีการปลูก การใส่ปุ๋ย การจัดการดูแลรักษา
                  การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวให้มีความเหมาะสมในแต่ละพื้นที่

                            5)  ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต รวมถึงการเพิ่มคุณภาพผลผลิตพืช
                  และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ เพื่อลดต้นทุนการผลิต และช่วย
                  รักษาสภาพแวดล้อม

                            6)  ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และขยายผลให้เกษตรกร
                  อย่างทั่วถึง
                              7)  สนับสนุนปัจจัยการผลิตในราคายุติธรรมแก่เกษตรกร
                              8)  สนับสนุนช่วยเหลือเกษตรกรด้านการตลาด โดยส่งเสริมพัฒนาตลาดสินค้าเกษตร
                  และช่องทางการจ าหน่ายผลผลิตทางการเกษตร

                              9)  สนับสนุนการรวมกลุ่มเกษตรกรในรูปแบบของวิสาหกิจชุมชนหรือสหกรณ์ เพื่อให้เกิด
                  การด าเนินงานแบบครบวงจร สร้างความเข้มแข็ง เพิ่มความสามารถในการแข่งขัน และเพิ่มอ านาจใน
                  การต่อรองของราคาผลผลิต
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128