Page 113 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 113

5-9





                                (2) พัฒนาศักยภาพการผลิต โดยควบคุมกระบวนการผลิตไม้ผลให้ถูกต้องตามระบบ

                  GAP จัดการดิน และใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน โดยใช้โปรแกรมค าแนะน าการจัดการดิน และปุ๋ย
                  โปรแกรมดินไทย และธาตุอาหารพืช รวมถึงการใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชอย่างถูกต้องปลอดภัย
                                (3) พัฒนาแหล่งน้ าเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต เช่น บ่อน้ าขนาดเล็กในไร่นา

                  รวมทั้งปรับปรุงแหล่งน้ าตามธรรมชาติ ให้สามารถกักเก็บน้ าได้ดีขึ้น เพื่อใช้ส าหรับปลูกพืชเพื่อลดความ
                  เสียหายจากกรณีฝนทิ้งช่วง
                                (4) ควรท าทางระบายน้ าบริเวณที่เป็นที่ค่อนข้างลุ่ม เพื่อไม่ให้น้ าท่วมขัง
                                (5) ควรส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรแต่ละสายการผลิต
                  เพื่อให้มีการอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ปรับปรุงกระบวนการ และขั้นตอนการผลิต

                  เพื่อเป็นการเพิ่มคุณภาพ และผลผลิตให้สูงขึ้น

                              3) เขตปลูกไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 184,784 ไร่ หรือร้อยละ 8.96 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สภาพพื้นที่ในเขตนี้เป็นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเนินเขา มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวถึงดินร่วน
                  เหนียวปนทรายแป้ง การระบายน้ าดีถึงเลว ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า เป็นดินลึกมาก บางบริเวณเป็นดิน

                  ลึกปานกลางหรือตื้นถึงชั้นลูกรัง ชั้นหินพื้นซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบรากพืช มีความเหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่
                  เหมาะสมส าหรับการปลูกไม้ยืนต้น สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้น
                  เช่น ยางพารา ปาล์มน้ ามัน กาแฟ และหมาก ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในทุกอ าเภอของจังหวัดระนอง
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                (1) ควรก าหนดให้เป็นพื้นที่เร่งรัดการพัฒนาที่ดินเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตให้ดีขึ้น
                  โดยปรับปรุงบ ารุงดินที่เป็นทราย ดินมีกรวดหินปะปน และความอุดมสมบูรณ์ต่ า ด้วยอินทรียวัตถุ
                  และปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับการปลูกพืชตระกูลถั่ว และไถกลบลงในดิน
                                (2) ใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรมควบคู่กับการจัดระบบอนุรักษ์ดิน และน้ า เช่น ปลูกแฝก

                  เป็นแถบตามแนวระดับขวางความลาดเท เพื่อลดปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน
                                (3) สนับสนุนการปลูกป่า และไม้โตเร็ว ควบคู่กับการอนุรักษ์ดิน และน้ า
                                (4) พัฒนาแหล่งน้ า และส่งเสริมการท าเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจ

                  พอเพียง โดยเน้นการปลูกพืชให้หลากหลายชนิด ทั้งพืชไร่ พืชผัก ไม้ผล และไม้ยืนต้น
                                (5) ฟื้นฟูสภาพพื้นที่บริเวณที่ถูกท าลายให้สามารถน ากลับมาใช้ประโยชน์ใน
                  ด้านการเกษตร โดยการปรับพื้นที่ และปล่อยให้เป็นทุ่งหญ้าธรรมชาติหรือปลูกไม้ยืนต้น

                          2.3  เขตปศุสัตว์ มีเนื้อที่ 1,160 ไร่ หรือร้อยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้า
                  เลี้ยงสัตว์ โรงเรือนเลี้ยงสัตว์ปีก และโรงเรือนเลี้ยงสุกร ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในอ าเภอเมืองระนอง

                  อ าเภอกระบุรี อ าเภอละอุ่น และอ าเภอสุขส าราญของจังหวัดระนอง
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ควบคุมระบบนิเวศมลภาวะด้านกลิ่น เสียง และน้ าเสีย ไม่ให้รบกวน และส่งผล
                  กระทบต่อชุมชน และพื้นที่ใกล้เคียง
                                (2) ควบคุม และป้องกันโรคระบาดอย่างใกล้ชิด และเข้มงวด ปฏิบัติตามค าแนะน า

                  ของทางราชการอย่างเคร่งครัด
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118