Page 112 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดระนอง
P. 112

5-8





                          2.2  เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่่า มีเนื้อที่ 195,851 ไร่ หรือร้อยละ 9.50

                  ของเนื้อที่จังหวัด เป็นพื้นที่ท าการเกษตรโดยอาศัยน้ าฝนในการเพาะปลูก บริเวณที่มีสภาพพื้นที่เป็น
                  ที่ดอนมีการปลูกพืชไร่ และไม้ยืนต้น บางพื้นที่มีการปลูกข้าวโดยการท าคันนา ดินมีความเหมาะสม
                  เล็กน้อย (S3) ส าหรับการท าการเกษตร บางแห่งเป็นดินตื้น และมีกรวดหินปะปนมาก การเพิ่ม

                  ประสิทธิภาพการผลิตท าได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากมีข้อจ ากัดหลายด้าน เป็นเขตที่มีปัญหาด้านความ
                  เสื่อมโทรมของทรัพยากร รัฐจึงควรก าหนดให้เป็นพื้นที่เป้าหมายแรกในการเร่งรัดฟื้นฟูคุณภาพดิน
                  และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีขึ้น เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพ
                  การผลิตต่ า สามารถแบ่งได้เป็น 4 เขตย่อย ได้แก่ เขตท านา เขตปลูกพืชไร่ เขตปลูกไม้ยืนต้น และ
                  เขตปลูกไม้ผล โดยมีรายละเอียดดังนี้


                              1) เขตท านา มีเนื้อที่ 4,350 ไร่ หรือร้อยละ 0.21 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่
                  ในเขตนี้เป็นพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง เป็นดินลึกมาก
                  มีการระบายน้ าเลวถึงเลวมาก ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า มีความเหมาะสมเล็กน้อยส าหรับการปลูกข้าว
                  สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันเป็นนาข้าว พื้นที่เขตนี้ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกข้าวโดยอาศัย

                  น้ าฝนเป็นหลัก ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ในอ าเภอกระบุรี อ าเภอเมืองระนอง และอ าเภอสุขส าราญ
                  ของจังหวัดระนอง
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ควรปรับปรุงบ ารุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือ

                  ปุ๋ยพืชสด เพื่อช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดิน และเพิ่มธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ส าหรับพืช ร่วมกับการใส่
                  ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ในอัตราส่วนที่เหมาะสม
                                (2) พัฒนาแหล่งน้ าเพิ่มเติม เช่น บ่อน้ าขนาดเล็กในไร่นา รวมทั้งปรับปรุงแหล่งน้ า
                  ตามธรรมชาติ ให้สามารถกักเก็บน้ าได้ดีขึ้น เพื่อใช้ส าหรับปลูกพืช เพื่อลดความเสียหายจากกรณี

                  ฝนทิ้งช่วง
                                (3) คัดเลือกข้าวพันธุ์ดีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และท าการเกษตรโดยยึดแนวทาง
                  เกษตรผสมผสานตามแนวทางทฤษฎีใหม่ และเกษตรพอเพียงเพื่อการค้า และการบริโภค

                              2)  เขตปลูกไม้ผล มีเนื้อที่ 6,717 ไร่ หรือร้อยละ 0.33 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่
                  ในเขตนี้เป็นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเนินเขา มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวถึงดินร่วนเหนียว

                  ปนทรายแป้ง การระบายน้ าดีถึงเลว ความอุดมสมบูรณ์ดินต่ า เป็นดินลึกมาก บางบริเวณเป็นดินลึกปาน
                  กลางหรือตื้นถึงชั้นลูกรัง ชั้นหินพื้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบรากพืช มีความเหมาะสมเล็กน้อยหรือ
                  ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกไม้ผล สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นไม้ผล เช่น ทุเรียน มังคุด

                  ลองกอง และมะม่วงหิมพานต์ ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ทุกอ าเภอของ จังหวัดระนอง
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ปรับปรุงบ ารุงดิน โดยการใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์ หรือปุ๋ยชีวภาพควบคู่กับการใช้
                  ปุ๋ยเคมี ซึ่งจะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย ร่วมกับการจัดท าระบบอนุรักษ์ดิน และน้ าเพื่อป้องกัน
                  การชะล้างพังทลายของดิน และรักษาความชุ่มชื้นของดิน เช่น การปลูกหญ้าแฝก
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117