Page 31 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพิษณุโลก
P. 31

2-19





                      2. พืชที่ส าคัญของจังหวัด

                        2.1  พืช GI และพืชอัตลักษณ์ ของประเทศไทย
                            กล้วย เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ใช้พันธุ์กล้วยน้ าว้า
                        2.2  พืชเศรษฐกิจหลัก

                            1) ข้าวเจ้านาปี เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ใช้พันธุ์พิษณุโลก2 ขาวดอกมะลิ105
                  และปทุมธานี
                            2) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลกใช้พันธุ์ลูกผสมของเอกชน
                            3) อ้อยโรงงาน เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ใช้พันธุ์ขอนแก่น 3
                            4) มันส าปะหลัง เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ใช้พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50

                            5) มะม่วง เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ใช้พันธุ์น้ าดอกไม้
                            6) ยางพารา เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ใช้พันธุ์ RRIM 600
                                       7) สับปะรด เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลก ใช้พันธุ์ภูแล และนางแล

                        2.3  พืชอนาคต
                            ทุเรียน เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลกใช้พันธุ์หมอนทองและหลงรักไทย
                  2.7   ทรัพยากรธรรมชาติ

                      1. ทรัพยากรดิน
                        ทรัพยากรดินของจังหวัดพิษณุโลก โดยมีรายละเอียดดังรูปที่ 2-3

                        1.1  ดินในพื้นที่ราบลุ่ม พบตั้งแต่ในพื้นที่ราบลุ่มน้ าท่วมถึง แอ่งต่ าของที่ราบน้ าท่วมถึง
                  ที่ราบตะกอนน้ าพา ตะพักล าน้ าจนถึงพื้นที่ราบระหว่างเนินเขาและหุบเขา เกิดจากวัตถุก าเนิดดินพวก
                  ตะกอนน้ าพา มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีการแช่ขังของน้ าและมีระดับน้ าใต้ดิน
                  อยู่ใกล้ผิวดินในช่วงฤดูฝน ดินมีการระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงเลว มีสีเทา เทาเข้ม สีน้ าตาลปนเทา พบจุด

                  ประสีตลอดหน้าตัดดินหรือบางชั้นของหน้าตัดดิน เช่น จุดประสีแดง สีเหลือง สีเหลืองปนแดง สีน้ าตาล
                  หรือสีน้ าตาลปนเหลือง ที่บ่งบอกถึงการมีน้ าแช่ขังในหน้าตัดดิน มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็น
                  กลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ าถึงปานกลาง โดยจ าแนกตามเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 2 กลุ่ม ดังนี้
                            1) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ดินร่วนเหนียว

                  ปนทรายแป้ง ดินเหนียวปนทรายแป้งหรือดินเหนียว ส่วนดินล่างเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งหรือดิน
                  เหนียว ได้แก่ ชุดดินบางมูลนาก (Ban) ชุดดินบางระก า (Brk) ชุดดินเฉลียงลับ (Cl) ชุดดินชุมแพ (Cpa)
                  ชุดดินน่าน (Na) ชุดดินนาอ้อ (Nao) ชุดดินหนองกุง (Nkg) ชุดดินพิจิตร (Pic) ชุดดินโพทะเล (Plo)
                  ชุดดินพิษณุโลก (Psl) ชุดดินสุโขทัย (Skt) ชุดดินธวัชบุรี (Th) และชุดดินอุตรดิตถ์

                            2) กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วน ดินร่วนปนทราย
                  แป้งดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งหรือดินร่วนปนดินเหนียว ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วนปน
                  ดินเหนียวดินร่วนเหนียวปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้งหรือดินเหนียวปนทรายแป้ง ได้แก่ ชุดดิน

                  ช านิ (Cni) ชุดดินโคกส าโรง (Ksr) ชุดดินหนองบุญนาก (Nbn) ชุดดินศรีเทพ (Sri) ชุดดินสีทน (St) ชุดดิน
                  วังทอง (Wto) และดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อน (AC) ที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงเลว
                        1.2  ดินในพื้นที่ดอน เป็นดินในเขตดินแห้งที่ในรอบปีหนึ่งๆ ระดับความชื้นของดินจะถูก
                  จ ากัดส าหรับการเจริญเติบโตของพืชในบางช่วงเวลา ดินจะแห้งถึงจุดเหี่ยวเฉาติดต่อกันเกิน 45 วัน ในรอบปี
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36