Page 86 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 86

4-12





                  4.2   การวิเคราะห์ความต้องการของพื้นที่


                        จากการวิเคราะห์ศักยภาพแวดล้อมด้านการเกษตรของจังหวัดพังงา โดยวิเคราะห์ถึงศักยภาพ

                  แวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกของจังหวัดพังงา สามารถสรุปได้ ดังนี้

                        1. การวิเคราะห์ศักยภาพแวดล้อมภายในที่เกี่ยวข้องของจังหวัดพังงา

                          1.1  จุดแข็ง (Strengths : S)
                                1) พื้นที่ในการพัฒนาภาคเกษตรกรรมมีศักยภาพ

                                2) ปริมาณน้ าฝนเพียงพอต่อการผลิต

                                3) ปริมาณน้ าผิวดินมีมาก เนื่องจากมีขุมเหมืองเก่าที่เป็นแหล่งเก็บน้ าได้ดี
                                4) ยึดเกษตรกรเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมและบริการทางการเกษตร

                                5) มีหน่วยงานวิชาการทางการเกษตรที่หลากหลาย
                                6) มี ศพก. เป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสินค้าเกษตร

                                7) มีการบริหารงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาล และขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงเกษตร

                  และสหกรณ์ โดยมีกลไกขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ชัดเจนและยึดหลักธรรมา
                  ภิบาล เช่น มีคณะกรรมการอ านวยการขับเคลื่อนงานนโยบายส าคัญ และการแก้ไขปัญหาภาคเกษตร

                  ระดับจังหวัด (CoO) และคณะท างานปฏิบัติการขับเคลื่อนงานนโยบายส าคัญและแก้ไขปัญหา

                  การเกษตรระดับอ าเภอ (OT)
                          1.2   จุดอ่อน (Weakness : W)

                                1) พื้นที่การเกษตรที่มีศักยภาพ อยู่ในการครอบครองของกลุ่มนายทุนที่รอการเก็งก าไร
                                2) ทรัพยากรดินขาดความอุดมสมบูรณ์ อันเนื่องมาจากการท าเหมืองแร่ในอดีต

                  ก่อให้เกิดการท าลายสภาพแวดล้อมจนยากต่อการฟื้นฟู

                                3) ระบบชลประทานไม่ครอบคลุมพื้นที่การท าเกษตร
                                4) ขาดการวางแผนการผลิต เกษตรกรยังยึดติดการท าการเกษตรแบบเดิมๆ นิยม

                  การปลูกพืชเชิงเดี่ยว
                                5) การรวมกลุ่มเกษตรกร องค์กร สถาบันเกษตรกรยังไม่เข้มแข็ง

                                6) ขาดแคลนแรงงานภาคเกษตร

                                7) เกษตรกรอายุมากขึ้น ไม่ยอมรับเทคโนโลยีใหม่
                                8) ตลาดรองรับสินค้าเกษตรในจังหวัดมีน้อย และขาดประชาสัมพันธ์

                                9) การผลิตและการแปรรูปสินค้าทางการเกษตรไม่ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Value

                  Chain) ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง เช่น ไม่มีโรงงานสกัดปาล์มน้ ามันในพื้นที่ (สนับสนุนภาคเอกชน)
                  โรงฆ่าสัตว์ที่มีมาตรฐาน
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91