Page 89 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 89

4-15





                  ตารางที่ 4-2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการเกษตรจังหวัดพังงา (SWOT analysis)


                              จุดแข็ง (Strength : S)                    จุดอ่อน (Weakness : W)
                   1) พื้นที่ในการพัฒนาภาคเกษตรกรรมมีศักยภาพ   1) พื้นที่การเกษตรที่มีศักยภาพ อยู่ในการครอบครอง
                   2) ปริมาณน้ าฝนเพียงพอต่อการผลิต             ของกลุ่มนายทุนที่รอการเก็งก าไร
                   3) ปริมาณน้ าผิวดินมีมาก เนื่องจากมีขุมเหมืองเก่าที่เป็น 2) ทรัพยากรดินขาดความอุดมสมบูรณ์ อันเนื่องมาจาก

                     แหล่งเก็บน้ าได้ดี                         การท าเหมืองแร่ในอดีตก่อให้เกิดการท าลาย
                   4) ยึดเกษตรกรเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมและบริการ  สภาพแวดล้อมจนยากต่อการฟื้นฟู
                     ทางการเกษตร                              3) ระบบชลประทานไม่ครอบคลุมพื้นที่การท าเกษตร

                   5) มีหน่วยงานวิชาการทางการเกษตรที่หลากหลาย   4) ขาดการวางแผนการผลิต เกษตรกรยังยึดติดการท า
                   6) มี ศพก. เป็นศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสินค้า  การเกษตรแบบเดิมๆ นิยมการปลูกพืชเชิงเดี่ยว
                     เกษตร                                    5) การรวมกลุ่มเกษตรกร องค์กร สถาบันเกษตรกรยังไม่

                   7) มีการบริหารงานโดยใช้หลักธรรมาภิบาล และ    เข้มแข็ง
                     ขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย 6) ขาดแคลนแรงงานภาคเกษตร
                     มีกลไกขับเคลื่อนนโยบายกระทรวงเกษตรและ 7) เกษตรกรอายุมากขึ้น ไม่ยอมรับเทคโนโลยีใหม่
                     สหกรณ์ที่ชัดเจนและยึดหลักธรรมาภิบาล เช่น มี 8) ตลาดรองรับสินค้าเกษตรในจังหวัดมีน้อย และขาด

                     คณะกรรมการอ านวยการขับเคลื่อนงานนโยบาย     ประชาสัมพันธ์
                     ส าคัญ และการแก้ไขปัญหาภาคเกษตรระดับจังหวัด  9) การผลิตและการแปรรูปสินค้าทางการเกษตรไม่
                     (CoO) และคณะท างานปฏิบัติการขับเคลื่อนงาน  ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Value Chain) ต้นทาง กลาง

                     นโยบายส าคัญและแก้ไขปัญหาการเกษตรระดับ     ทาง ปลายทาง เช่น ไม่มีโรงงานสกัดปาล์มน้ ามันใน
                     อ าเภอ (OT)                                พื้นที่ (สนับสนุนภาคเอกชน) โรงฆ่าสัตว์ที่มีมาตรฐาน
                                                              10) ขาดการวิจัยและพัฒนาในในกระบวนการผลิต

                                                                 ตลอดจนการเพิ่มมูลค่าสินค้าการเกษตร
                                                              11) ขาดองค์ความรู้ ทักษะด้านการเกษตร การบริการ
                                                                และการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน
                                                              12) ระบบสารสนเทศข้อมูลด้านการเกษตรไม่ครอบคลุม

                                                                 และไม่เป็นปัจจุบัน
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94