Page 72 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 72

3-18





                          3. ผลการประเมินคุณภาพที่ดิน

                            จากการใช้คู่มือการประเมินคุณภาพที่ดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ (บัณฑิตและค ารณ 2542)
                  ประเมินคุณภาพที่ดิน ได้จ าแนกชั้นความเหมาะสมทางกายภาพและข้อจ ากัดของประเภทการใช้ที่ดิน
                  ดังนี้

                            ปาล์มน้้ามัน
                            ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร
                  (Nutrient retention capacity : n) สารพิษ (Soil Toxicities : z) และด้านความเสียหายจากการกัด
                  กร่อน (Erosion hazard : e)
                            ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านความเป็นประโยชน์ของ

                  ออกซิเจนต่อรากพืช (Oxygen availability : o) สภาวะการหยั่งลึกของราก (Rooting conditions : r)
                  การมีเกลือมากเกินไป (Excess of salts : x) และด้านความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard : e)
                            ยางพารา

                            ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านความเป็นประโยชน์ของ
                  ออกซิเจนต่อรากพืช (Oxygen availability : o) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention
                  capacity : n) สภาวะการหยั่งลึกของราก (Rooting conditions : r) สารพิษ (Soil Toxicities : z) และ
                  ด้านความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard : e)

                            ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านสภาวะการหยั่งลึกของราก
                  (Rooting conditions : r) การมีเกลือมากเกินไป (Excess of salts : x) และด้านความเสียหายจากการกัด
                  กร่อน (Erosion hazard : e)
                            ทุเรียน

                            ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านความเป็นประโยชน์ของ
                  ออกซิเจนต่อรากพืช (Oxygen availability : o) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention
                  capacity : n) สารพิษ (Soil Toxicities : z) และด้านความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard : e)
                            ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านสภาวะการหยั่งลึกของราก

                  (Rooting conditions : r) การมีเกลือมากเกินไป (Excess of salts : x) และด้านความเสียหายจากการกัด
                  กร่อน (Erosion hazard : e)
                            มังคุด

                            ชั้นความเหมาะสมปานกลาง (S2) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านความเป็นประโยชน์ของ
                  ออกซิเจนต่อรากพืช (Oxygen availability : o) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention
                  capacity : n) สารพิษ (Soil Toxicities : z) และด้านความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard : e)
                            ชั้นความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) พบว่ามีข้อจ ากัดด้านสภาวะการหยั่งลึกของราก
                  (Rooting conditions : r) การมีเกลือมากเกินไป (Excess of salts : x) และด้านความเสียหายจากการกัด

                  กร่อน (Erosion hazard : e)
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77