Page 13 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 13

1-5






                  1.5   นิยามศัพท์

                         “นโยบาย” หมายถึง หลักและวิธีปฏิบัติซึ่งถือเป็นแนวทางด าเนินการ (ราชบัณฑิตยสถาน,
                  2546: 563)
                          “ที่ด ิน” หมายถึง พ ื้นที่ด ินทั่วไป และใหหมายความรวมถ ึง ภ ูเขา   หวย  หนอง คลอง บึง บาง
                  ล าน้ า ทะเลสาบ เกาะ และท ี่ชายทะเลดวย (มาตรา 1 ประมวลกฎหมายท ี่ด ิน)

                          “ที่ดิน” ในทางว ิชาการดานทรัพยากรที่ดิน หมายถึง “ชีวมลฑลบนพื้นที่ผิวโลกประกอบดวย
                  ช ั้นบรรยากาศ ช ั้นด ิน ช ั้นหิน ลักษณะความลาดเทของพ ื้นที่ ลักษณะทางอ ุทกศาสตร์ พืช สัตว และผลที่
                  เกิดจากการกระท าของมนุษย์ทั้งในอด ีตและปจจุบัน (FAO, 1974: 2)

                           “ด ิน” หมายถ ึง “หิน กรวด ทราย แรธาต ุ น้ า และอ ินทรียว ัตถุต่างๆ ที่เจือปนกับเน ื้อด ิน
                  ดวย” (มาตรา 4 พระราชบัญญ ัต ิพัฒนาท ี่ด ิน พ.ศ. 2551)
                           “ด ิน” ในทางวิชาการดานทร ัพยากรท ี่ด ิน หมายถ ึง “เทหวัตถ ุธรรมชาติซ ึ่งเก ิดข ึ้นบนพ ื้นท ี่ผ ิวโลก
                  เป็นวัตถุที่ค้ าจุนการเจริญเติบโต และการทรงตัวของตนไม้ ประกอบดวยแรธาตุ และอินทรียวัตถุ

                  ต่างๆ และมีลักษณะช ั้นแตกต่างกัน ซึ่งแต่ละช ั้นที่อยู่ต่อเนื่องกันจะม ีความสัมพันธ์ซึ่งก ันและก ันตาม
                  ขบวนการก าเน ิดด ินที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากการกระท าร่วมกันของภูมิอากาศ พืชพรรณ วัตถุ
                  ตนก าเนิด ตลอดทั้งระยะเวลาและความต่างระด ับของพ ื้นที่ในบริเวณนั้น” (FAO, 1974: 2)

                          “การชะล้างพังทลายของดิน” หมายถึง ปรากฏการณซึ ่งท ี ่ด ินท ี่ถ ูกชะล ้างก ัดเซาะพ ังทลาย
                  ด้วยพลังงานที่เกิดจากน้ า ลม หรือโดยสาเหตุอื่นใดใหเกิดความเสื่อมโทรม สูญเสียเนื้อดิน หรือความ
                  อุดมสมบูรณของดิน (มาตรา 4 พระราชบัญญัต ิพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551)
                          “ความเสื่อมโทรมของที่ดิน” หมายถึง การลดลงหรือการสูญเสียผลิตภาพทางชีวภาพหรือ

                  ทางเศรษฐกิจ (UNCCD, 2000: 7)
                          “การอนุรักษดินและน้ า” หมายถึง การกระทำใดๆ ที่มุ่งใหเก ิดการระว ังปองก ันร ักษาด ินและ
                  ที่ดิน ไม่ใหเกิดความเสื่อมโทรม สูญเสีย รวมถึงการรักษา ปรับปรุง ความอุดมสมบูรณของดินและการ
                  รักษาน้ าในดินหรือบนผิวดินให คงอยู่เพื่อรักษาดุลธรรมชาติให เหมาะสมในการใช

                  ประโยชนที่ดินในทางเกษตรกรรม (มาตรา 4 พระราชบัญญัต ิพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551)
                          “เกษตรกรรม”
                                 (1) “เกษตรกรรม”   หมายถึง การใชที่ดินเพาะปลูกพืชต่างๆ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว
                  การประมงและการป่าไม้ (ราชบัณฑิตสถาน, 2546: 144)

                                (2) ตามความหมายในมาตรา 4 พระราชบ ัญญ ัต ิจ ัดร ูปท ี่ด ินเพ ื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2517
                                “เกษตรกรรม” หมายถึง การท านา ท าไร่ ท าสวน เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ า ผึ้ง เลี้ยงไหม
                  เลี้ยงครั่ง เพาะเห็ด และการอื่นตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศก าหนดใน

                  ราชกิจจานุเบกษา
                                (3) ตามความในมาตรา 5 พระราชบัญญัติการเช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2524
                                “เกษตรกรรม” หมายถึง การท านา ท าสวน ท าไร่ ท านาเกลือ เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ า
                  และกิจการอื่นตามที่ก าหนดในกฎกระทรวง
                                (4) ตามความในมาตรา 3 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ. 2517
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18