Page 16 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 16

2-2





                  พระธาตุเจดีย์เทพนิมิต ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานนามว่า “พระมหาธาตุเจดีย์พุทธ

                  ธรรมบันลือ”
                        6) เขาเขียน
                          เขาเขียน หรือ ภาพเขียนสี เป็นทางผ่านที่จะไปยังเกาะปันหยีบริเวณหน้าผาจะมีรูปเขียน

                  เป็นภาพสัตว์ชนิดต่าง ๆ สันนิษฐานว่าเป็นภาพวาดโดยนักเดินเรือสมัยโบราณที่แวะมาจอดพักหลบ
                  มรสุม ซึ่งกรมศิลปากรได้ท้าการศึกษาว่ามีอายุไม่ต่้ากว่า 3,000 ปี
                        7) สวนอนุสรณ์สึนามิบ้านน ้าเค็ม
                          สวนอนุสรณ์สึนามิบ้านน ้าเค็ม ตั งอยู่ติดชายทะเลบ้านน ้าเค็ม อ้าเภอตะกั่ว โดยมีอนุสรณ์
                  ก่อสร้างเป็นช่องทางเดินระหว่างก้าแพงกันดินสองข้าง โดยด้านหนึ่งท้าเป็นก้าแพงคอนกรีตโค้งคล้าย

                  รูปคลื่นผิวหินขัดสีด้าและจะมีช่องมองทะลุก้าแพงไปเห็นเรือประมงที่ได้รับความเสียหายจากคลื่นยักษ์
                  สึนามิน้ามาตั งไว้ ส่วนอีกด้านหนึ่งเป็นก้าแพงเฉียงปูอิฐสลับกับกระเบื องเซรามิกและมีรายชื่อของ
                  ผู้เสียชีวิตสลักบนแผ่นป้ายทองเหลืองติดบนกระเบื องเซรามิกซึ่งจ้านวนผู้เสียชีวิตที่บ้านน ้าเค็มประมาณ

                  1,400 คน
                        8) เขาไข่นุ้ย
                           เขาไข่นุ้ย ตั งอยู่ที่ต้าบลทุ่งมะพร้าว อ้าเภอท้ายเหมือง เป็นจุดชมทะเลหมอกที่มีชื่อเสียง
                  อีกจุดหนึ่งของจังหวัดพังงา มีความสูงประมาณ 200 เมตรจากระดับน ้าทะเล

                      4. ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม
                        1) เพลงรองเง็ง เป็นเพลงพื นบ้านที่เล่นกันในหมู่ชาวไทยมุสลิมในภาคใต้  เดิมร้องเป็นภาษา
                  มลายูซึ่งเป็นภาษาพื นเมือง ต่อมาได้มีการแต่งเนื อร้องเป็นภาษาไทยแถบจังหวัดพังงา ภูเก็ต เรียกว่า
                  เพลงตันหยง เพลงที่นิยมเล่นในจังหวัดพังงา ได้แก่ เพลงบุหงา ตันหยง ซีนาโดง

                        2) ลิเกป่า เป็นศิลปะการแสดงที่แพร่หลายในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไทย แถบจังหวัด
                  ตรัง พังงาและกระบี่ ลักษณะการเล่นคล้ายกับลิเกฮูลูของไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
                  เครื่องดนตรีที่ใช้ ได้แก่ ร้ามะนา กลอง โหม่ง ปี่ หรือซอและฉิ่ง
                        3) หนังตะลุง ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมพื นบ้านไทยที่ส้าคัญอย่างหนึ่งของกลุ่มชนแถบฝั่ง

                  ทะเลอันดามัน หนังตะลุงในจังหวัดพังงาและภูเก็ต มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่แตกต่างจากหนังตะลุงฝั่ง
                  ตะวันออก ทั งในด้านการขับร้องบท การเจรจา รูปหนัง และธรรมเนียมการเล่น
                        4) ระบ้าร่อนแร่ เป็นการแสดงนาฎลีลาที่ถ่ายทอดวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนใน

                  ท้องถิ่น ถ่ายทอดการท้ามาหากินที่แตกต่างจากภูมิภาคอื่น คือการร่อนแร่ดีบุก ซึ่งเป็นอาชีพดั งเดิม และ
                  สร้างรายได้ให้แก่จังหวัดในอดีต การแต่งกายในการแสดงใช้ชุดย่าหยา ซึ่งเป็นชุดพื นเมืองของท้องถิ่น
                        5) ระบ้ากรีดยาง เป็นนาฎลีลาที่ประยุกต์ท่าทางเพื่อแสดงถึงการประกอบอาชีพการท้าสวน
                  ยางซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวพังงา
                        6) ระบ้ากะลา เป็นนาฎลีลาที่ประยุกต์เอาวัสดุเหลือใช้จากการประกอบอาชีพการท้าสวน

                  มะพร้าว มาดัดแปลงท่าทางเพื่อถ่ายทอดถึงขั นตอนของการประกอบอาชีพ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21