Page 97 - Land Use Plan of Thailand
P. 97

3-29





                  กฎหมาย และบางแห่งมีเอกสารสิทธิ์ที่มิชอบด้วยกฎหมาย ท้าให้มีปัญหาขัดแย้งระหว่างรัฐและผู้เข้าถือครอง

                  รัฐบาลจึงมีนโยบายที่จะปรับปรุงการจ้าแนกประเภทที่ดิน โดยมีมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน
                  พ.ศ. 2525 แก้ไขเพิ่มเติมตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2526 เรื่องนโยบายการใช้
                  และกรรมสิทธิ์ที่ดิน มอบหมายให้กรมพัฒนาที่ดินด้าเนินการส้ารวจและจ้าแนกประเภทที่ดินในพื้นที่ป่า

                  ไม้ถาวรที่ยังไม่ได้ก้าหนดเป็นป่าสงวนแห่งชาติ ภายใต้โครงการการปรับปรุงการจ้าแนกประเภทการใช้
                  ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ถาวรนอกเขตป่าสงวนแห่งชาติ ประมาณ 30 ล้านไร่

                               ผลการส้ารวจและจ้าแนกประเภทที่ดิน ในครั้งนั้น สามารถจ้าแนกได้เป็น
                               1)  พื้นที่ควรรักษาไว้เป็นป่าไม้ถาวร (รวมพื้นที่ทับซ้อนกับป่าสงวนแห่งชาติ) ประมาณ
                  18,299,535 ไร่ ให้กรมป่าไม้รับไปด้าเนินการประกาศเป็นป่าสงวนแห่งชาติเพิ่มเติมต่อไป

                               2) พื้นที่จ้าแนกออกจากป่าไม้ถาวรเพื่อเป็นที่จัดสรรหรือใช้ประโยชน์อื่น ประมาณ
                  11,653,746 ไร่ และพื้นที่ที่มีสภาพเป็นป่าแปลงเล็กแปลงน้อย เนื้อที่แต่ละแปลงไม่เกิน 500 ไร่ และ
                  ไม่ติดกับป่าสงวนแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า (ตามมติคณะกรรมการพัฒนาที่ดิน
                  ครั้งที่ 4/2530 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) ให้จัดเป็นป่าชุมชน รวม1,097 แปลง พื้นที่ประมาณ

                  131,624ไร่ (ส้านักเทคโนโลยีการส้ารวจและท้าแผนที่ กรมพัฒนาที่ดิน พฤศจิกายน 2550)
                               จากสถานการณ์และประเด็นปัญหาหลักของการบุกรุกท้าลายทรัพยากรป่าไม้อย่าง
                  ต่อเนื่อง ท้าให้พื้นที่ป่าไม้ของประเทศไทยมีจ้านวนลดลงเป็นปริมาณมาก ก่อให้เกิดผลกระทบและความ
                  ขัดแย้งเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ที่รุนแรง ต้องรักษาพื้นที่ป่าไม้ให้มีสภาพป่าที่สมบูรณ์ให้ได้พื้นที่ป่าไม้

                  อย่างน้อยร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศไทย จึงจ้าเป็นต้องจัดท้าแผนการการใช้ที่ดินประเทศไทย โดยมี
                  การก้าหนดเขตป่าไม้ เพื่อให้การจัดการและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ กระท้าได้อย่างเป็นรูปธรรม ต่อเนื่อง
                  ในระยะยาว ประสานสอดคล้อง สมดุลกับการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่
                  ยั่งยืนต่อไป


                  3.3  ทรัพยากรน้้า

                        ทรัพยากรน้้าในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แหล่งน้้าที่สร้างขึ้น และแหล่งน้้าที่เกิด
                  โดยธรรมชาติ แหล่งน้้าที่สร้างขึ้น ตัวอย่างเช่น อ่างเก็บน้้าคลอง เขื่อน ฝายน้้าล้น คลองส่งน้้า ชลประทาน
                  และแหล่งน้้าที่เกิดโดยธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้้า เป็นต้น นอกจากน ี้ยังสามารถแบ่ง

                  ได้ตามการเคล ื่อนท ี่ของน้้าเช่นแม่น้้าและคลองกล่าวถึงแหล่งน้้ามีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งใน
                  ขณะท ี่ทะเลสาบน้้าในทะเลสาบจะไม่มีการไหลไปแหล ่งอื่นแหล ่งน้้าที่มีการส ัญจรเรียกว่า ทางน้้า
                  ส้าหรับบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้้าเป็นจ้านวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่า แหล่งน้้า เช่น น้้าตกซึ่งมีรายละเอียด
                  ของทรัพยากรน้้าในประเทศไทยดังต่อไปนี้
                        3.3.1  ประเภทของแหล่งน้้าของประเทศไทย

                               1)  แหล ่งน้้าท ี่สร้างขึ้น
                               แหล่งน้้าที่สร้างขึ้นในประเทศไทยประกอบด้วยแหล่งน้้าที่มีขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และ
                   ขนาดเล็ก จากข้อมูลของกรมชลประทาน (2558:19) พบว่า ปัจจุบันกรมชลประทานและการไฟฟ้า

                   ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยสามารถพัฒนาพื้นที่ชลประทานทั้งหมด 24,507,339 ไร่ และมีปริมาตรน้้า
                   เก็บกักของโครงการชลประทานทั้งหมด 77,435.95 ล้านลูกบาศก์เมตร ไว้ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ส้าหรับ
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102