Page 74 - rubber
P. 74

3-6





                        3.1.3 การจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                            จากหลักการของ FAO Framework ได้จ้าแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินเป็น 2
                  อันดับ (Order) 4 ชั น (Class) โดยแสดงรายละเอียดได้ดังนี

                            1) อันดับ ประกอบด้วย
                              (1) อันดับที่เหมาะสม (Order S; Suitability)

                              (2) อันดับที่ไม่เหมาะสม (Order N; Not suitability)

                            2) ชั น ประกอบด้วย
                              S1: ชั นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)

                              S2: ชั นที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)

                              S3: ชั นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (Marginally suitable)
                              N: ชั นที่ไม่มีความเหมาะสม (Not suitable)

                            3) ชั นย่อยเป็นชั นที่แสดงอิทธิพลของการเจริญเติบโตของพืช ประกอบด้วย

                              (1) ความชุ่มชื นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (Moisture availability: m)
                              (2) ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (Oxygen availability: o)

                              (3) ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (Nutrient availability: s)
                              (4) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (Nutrient retention capacity: n)

                              (5) ความเสียหายจากน ้าท่วม (Flood hazard: f)

                              (6) ความเสียหายจากการกัดกร่อน (Erosion hazard: e)
                            วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินหรือประเมินความเหมาะสมของที่ดินส้าหรับยางพารา

                  นั นใช้วิธีการจับคู่เพื่อประเมินความเหมาะสมระหว่างความต้องการของประเภทการใช้ที่ดินกับคุณภาพที่ดิน
                  โดยพิจารณาว่ายางพารามีความต้องการคุณภาพที่ดินเหมาะสมอยู่ในระดับใด ตามชนิดของหน่วยที่ดิน

                  ที่พบในพื นที่ ส้าหรับหน่วยที่ดินผสมจะท้าการประเมินคุณภาพที่ดินโดยประเมินจากคุณลักษณะที่ดิน

                  ที่มีข้อจ้ากัดรุนแรงที่สุดที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช
                            จากตารางคุณสมบัติหน่วยที่ดินเมื่อน้ามาประเมินร่วมกับ (Matching) ระดับความต้องการ

                  ปัจจัยการเจริญเติบโตของยางพารา (ตารางที่ 3-1) สามารถประเมินความเหมาะสมของที่ดินโดยพบว่า

                  ประเทศไทยมีพื นที่มีชั นความเหมาะสมตามศักยภาพของหน่วยที่ดินในการปลูกยางพารารวมทั งหมด
                  109,720,440 ไร่ หรือร้อยละ 34.21 ของเนื อที่ทั งประเทศ มีรายละเอียดศักยภาพชั นความเหมาะสม

                  ของหน่วยที่ดินในการปลูกพืชเศรษฐกิจยางพารา (ตารางที่ 3-2 และ รูปที่ 3-1) มีรายละเอียดดังนี

                             1) พื นที่ชั นความเหมาะสมสูง (S1) ที่มีการปลูกพืชเศรษฐกิจยางพาราทั งประเทศ มีเนื อที่
                  12,631,937 ไร่ หรือร้อยละ 11.51 ของพื นที่ที่มีชั นความเหมาะสมทั งประเทศ ภาคเหนือ มีเนื อที่ 1,832,079 ไร่

                  หรือร้อยละ 14.50 ของพื นที่ที่มีชั นความเหมาะสมสูงทั งประเทศ ภาคกลาง มีเนื อที่ 1,482,196 ไร่





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79