Page 73 - rubber
P. 73

3-5





                            1) จะต้องมีผลต่อพืชหรือประเภทการใช้ที่ดินนั น ๆ

                            2) ค่าวิกฤตต้องพบในพื นที่ที่จะปลูกพืชนั น ๆ

                            3) การรวบรวมข้อมูลสามารถปฏิบัติได้
                             การจัดล้าดับความส้าคัญของคุณภาพที่ดินซึ่งใช้คุณลักษณะที่ดินเป็นตัวแทน เมื่อท้าการ

                  จัดล้าดับความส้าคัญแล้ว พบว่า เงื่อนไขหลักขึ นอยู่กับการรวบรวมข้อมูลคุณลักษณะที่ดิน ดังนั น

                  คุณภาพที่ดินที่มีความส้าคัญ น้ามาใช้ในการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพของยางพารา มีจ้านวน
                  8 ปัจจัย ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีความส้าคัญที่สุด และมีผลต่อผลผลิต ตลอดจนชนิดของพืช และความต้องการ

                  ใช้ประโยชน์ที่ดินประกอบด้วย
                            1) ความชุ่มชื นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (m)

                            2) ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช (o)

                            3) ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร (s)
                            4) ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร (n)

                            5) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r)
                            6) ความเสียหายจากการกัดกร่อน (e)

                            7) ความเสียหายจากน ้าท่วม (f)

                            8) การมีเกลือมากเกินไป (x)
                            ดินที่กล่าวถึงในเบื องต้นเป็นข้อมูลของคุณลักษณะดินตามข้อมูลดินเชิงกายภาพ ซึ่งหาก

                  ต้องการให้มีคุณลักษณะของที่ดินจ้าเป็นต้องน้าข้อมูลสภาพแวดล้อมมาร่วมวิเคราะห์ด้วย เพื่อใช้ข้อมูล

                  ของคุณลักษณะดินกลายเป็นข้อมูลคุณลักษณะของที่ดิน
                            ข้อมูลคุณลักษณะของที่ดินที่น้ามาใช้ได้จากข้อมูลกลุ่มชุดดิน กองส้ารวจดินและวิจัย

                  ทรัพยากรดิน (2562) ซึ่งมีข้อมูลของคุณลักษณะดินที่สามารถน้ามาใช้ตามจ้านวนปัจจัยที่เราน้ามา

                  จัดล้าดับความส้าคัญของคุณภาพที่ดินเบื องต้นแล้ว แต่คุณลักษณะดินที่ใช้เป็นเพียงคุณสมบัติที่ได้ในเชิง
                  กายภาพของดิน เพื่อให้ข้อมูลคุณลักษณะดินเป็นข้อมูลคุณลักษณะของที่ดิน ซึ่งมีปัจจัยของสิ่งแวดล้อม

                  เข้ามาร่วมพิจารณาด้วย กลุ่มวางแผนบริหารจัดการพื นที่ชุ่มน ้า จึงได้จัดท้าข้อมูลหน่วยที่ดินขึ นมาเพื่อใช้
                  เป็นตัวแทนคุณลักษณะของที่ดิน โดยน้าปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เข้ามาพิจารณาร่วม 2 ปัจจัย คือ

                            1)  ปริมาณน ้าชลประทาน แหล่งน ้าบาดาล
                            2) การจัดการระดับพื นที่ ก้าหนดพื นที่ที่มีการจัดการในพื นที่ลุ่ม เพื่อยกร่องปลูกยางพารา

                  เป็นเขตที่มีการจัดการระดับพื นที่ (M2)












                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78