Page 70 - rubber
P. 70

3-2





                  ที่แตกต่างกันส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืชที่แตกต่างกันแต่คุณลักษณะที่ดินที่ใช้ในการแสดงค่า

                  เพื่อชี บ่งความเจริญเติบโตของพืชบางกรณีมีปัจจัยเด่นเพียงตัวเดียว เช่น การระบายน ้าของดิน บางกรณี

                  อาจมีปัจจัยเด่นได้หลายตัว เช่น ความจุในการดูดยึดธาตุอาหารสามารถแสดงได้จากค่าของความจุ
                  ในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (C.E.C) และค่าความอิ่มตัวของประจุบวกที่เป็นด่าง (B.S) ปัจจัยเด่นหลายตัวนั น

                  อาจส่งผลกระทบซึ่งกันและกัน รวมถึงมีการแปรผันตามสภาพแวดล้อม ท้าให้การน้าค่าดังกล่าวมาใช้

                  จ้าเป็นต้องมีการคาดคะเนผลจากปัจจัยร่วม (diagnostic factors) โดยประเมินจาก กลุ่มคุณลักษณะที่ดิน
                  ที่มีข้อจ้ากัดรุนแรงที่สุดที่ส่งผลกระทบต่อปัจจัยความเจริญเติบโตของพืชมากที่สุดเป็นตัวก้าหนดระดับ

                  ความเหมาะสมส้าหรับความต้องการของประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน
                            ดังนั น การก้าหนดระดับความต้องการปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของยางพารา

                  ก้าหนดโดยอาศัยช่วงค่าความเหมาะสมจากการคาดคะเนปัจจัยร่วม หากมีช่วงค่าความเหมาะสมสูง

                  จะให้ค่าพิสัยสูง แต่ค่าปัจจัยใดที่มีช่วงที่มีผลต่อการหยุดชะงักการเจริญเติบโตจะให้ค่าพิสัยต่้า เช่น
                  ปริมาณน ้าฝน ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชชนิดหนึ่งจะถูกก้าหนดให้มีค่าพิสัยสูง

                  แต่ช่วงปริมาณน ้าฝนที่มากเกินไปจะท้าให้รากเน่า การเจริญเติบโตจะถูกก้าหนดให้มีค่าพิสัยต่้าสุด
                            การก้าหนดระดับค่าพิสัยของคุณภาพที่ดินสามารถก้าหนดช่วงค่าความเหมาะสม

                  ออกเป็น 4 ชั น โดยอาศัยหลักเกณฑ์ในรูปของผลผลิตและการลงทุน ส้าหรับการเจริญเติบโต

                  ของยางพารา สามารถก้าหนดระดับความต้องการปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของยางพารา
                  ได้ดังแสดงในตารางที่ 3-1








































                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75