Page 69 - rubber
P. 69

บทที่ 3

                                       การวิเคราะห์เพื่อก าหนดเขตการใช้ที่ดิน



                  3.1  การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพ
                        การประเมินคุณภาพที่ดิน (Qualitative Land Evaluations) เป็นการพิจารณาศักยภาพ

                  ของหน่วยทรัพยากรที่ดินต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่าง ๆ ในระดับการจัดการที่แตกต่างกัน

                  วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินมีหลายวิธี ส่วนวางแผนทรัพยากรน ้าเพื่อการพัฒนาที่ดินได้เลือกใช้
                  วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินในหลักการของ FAO Framework (1983) สามารถท้าได้ 2 รูปแบบ

                        รูปแบบแรก การประเมินทางด้านคุณภาพหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการประเมินเชิงกายภาพ

                  ว่าที่ดินนั น ๆ เหมาะสมสูงหรือน้อยเพียงใดต่อการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่าง ๆ
                        รูปแบบที่สอง การประเมินทางด้านปริมาณหรือด้านเศรษฐกิจ ซึ่งจะให้ค่าตอบแทนในรูปผลผลิต

                  ที่ได้รับ จ้านวนเงินในการลงทุนและจ้านวนเงินจากผลตอบแทนที่ได้รับ

                        3.1.1 ระดับความต้องการปัจจัยส าหรับพืชเศรษฐกิจยางพารา
                            จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพืชที่มีปลูกในพื นที่ต่าง ๆ พบว่า พืชมีความต้องการ
                  ปัจจัยและสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน นอกจากความต้องการด้านพืชแล้ว เกษตรกรแต่ละคนยังใช้

                  เครื่องจักร สารเคมี แรงงาน เทคโนโลยีหรือเงินทุนที่แตกต่างกัน รวมถึงการปรับพื นที่เพื่อให้ยางพารา

                  สามารถเจริญเติบโตได้โดยไม่เกิดปัญหาการแช่ขังของน ้า ดังนั น ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญต่อพืชสามารถ
                  แบ่งได้ 3 กลุ่ม ได้แก่

                            1) ความต้องการด้านพืช (Crop Requirements) ประกอบด้วยความเข้มของแสง อุณหภูมิ

                  ปริมาณน ้าฝนหรือความต้องการน ้าในช่วงการเจริญเติบโต การระบายน ้าที่เหมาะสม ปริมาณธาตุอาหาร
                  พืชในดิน ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก ความอิ่มตัวด้วยด่าง

                            2) ความต้องการด้านการจัดการ (Management Requirements) เนื่องจากพืชแต่ละชนิด

                  เหมาะสมในสภาพพื นที่ที่แตกต่างกัน เช่น ยางพาราสามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่้า
                  ดังนั น การจัดการโดยใส่ปุ๋ยจึงมีน้อย รวมถึงสามารถพบเห็นเกษตรกรปลูกยางพาราในดินทรายด้วย

                            3) ความต้องการด้านการอนุรักษ์ (Conservation Requirements) เป็นปัจจัยที่มีผลต่อ
                  การเจริญของพืชในพื นที่สูง ซึ่งมีโอกาสที่ดินจะถูกกัดกร่อนได้ง่ายจากอิทธิพลของลมและน ้า

                  ส่งผลให้เกิดการสูญเสียธาตุอาหารในดิน รวมถึงปริมาณตะกอนที่ไหลลงสู่ที่ลุ่มท้าให้มีผลกระทบต่อ

                  สภาพแวดล้อมอีกทางหนึ่ง
                            นอกจากปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชในแต่ละด้านที่แตกต่างกันแล้ว ดินในแต่ละพื นที่

                  ยังมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชแตกต่างกัน ทั งนี ขึ นอยู่กับสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศที่ท้าให้
                  คุณลักษณะดินแตกต่างกันไปตามวัตถุต้นก้าเนิดของดิน ดังนั น ดินที่แตกต่างกันจะมีคุณลักษณะของดิน






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74