Page 51 - rubber
P. 51

2-35







                     กิโลกรัม/ไร่
                    275
                                                                                            255
                    255                                                                       +2.41%
                                                                             237             249
                    235
                                              221                              -16.03%
                    215                                      210
                                                 +15.10%
                    195                                           +7.14%    199
                              180               192           196
                    175           +11.11%

                    155         162


                    135





                                                        2553      2562


                  รูปที่ 2-13 อัตราการเปลี่ยนแปลงผลผลิตต่อไร่ของยางพารา จ าแนกรายภาค ปี 2553 กับปี 2562

                             ต้นทุนการผลิตยางพารา

                            ต้นทุนการผลิตยางแผ่นดิบต่อไร่ของเกษตรกร ระหว่างปี 2 5 5 3 –2 5 6 2   พบว่า
                  มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.18 โดยต้นทุนทั้งหมด ปี 2553 ไร่ละ 10,922.43 บาท

                  เพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2556 ไร่ละ 17,811.78 บาท และในปี 2562 ลดลงเหลือไร่ละ 13,488.00 บาท
                  ในจ านวนต้นทุนทั้งหมดนั้น จ าแนกเป็นต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่ ซึ่งในส่วนของต้นทุนผันแปร

                  มีแนวโน้มลดลง คิดเป็นร้อยละ 2.12 โดยต้นทุนผันแปร ปี 2553 ไร่ละ 8,859.88 บาท เพิ่มขึ้นสูงสุด

                  ในปี 2556 ไร่ละ 13,321.17 บาท และปี 2562 ลดลงเหลือไร่ละ 9,233.69 บาท กลับกันในส่วน
                  ของต้นทุนคงที่ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 5.68 โดยในปี 2553 ไร่ละ 2,062.55 บาท ในปี 2562

                  เพิ่มขึ้นเป็นไร่ละ 4,254.31 บาท ขณะที่ต้นทุนต่อหน่วย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 1.16 โดยในปี 2553

                  กิโลกรัมละ 40.01 บาท และปี 2562 กิโลกรัมละ 55.28 บาท ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการผลิต
                  ที่ต่ าลงในช่วงเวลาที่ผ่านมา (ตารางที่ 2-13 และรูปที่ 2-14 และรูปที่ 2-15)

















                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56