Page 48 - rubber
P. 48
2-32
เมื่อพิจารณาผลผลิตเฉลี่ย ในช่วง 10 ปี ระหว่างปี 2553–2562 พบว่า ส่วนใหญ่มีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้น
โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิ่มขึ้นมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 2.26 รองลงมา ภาคเหนือ ภาคกลาง และ
ภาคใต้ คิดเป็นร้อยละ 1.84 0.75 และ 0.16 ตามล าดับ ขณะที่ภาคตะวันออก มีอัตราการเติบโตลดลง
คิดเป็นร้อยละ 2.93
เมื่อเปรียบเทียบผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของยางพารา จ าแนกในแต่ละภาค ปี 2553 กับปี 2562
พบว่า ส่วนใหญ่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ดังนี้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ
15.10 รองลงมา ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 11.11 7.14 และ 2.41
ตามล าดับ ในขณะที่ภาคตะวันออก มีอัตราการเปลี่ยนแปลงลดลง คิดเป็นร้อยละ 16.03 (ตารางที่ 2-12
และรูปที่ 2-13)
ตารางที่ 2-10 เนื้อที่กรีดของยางพารา จ าแนกรายภาค ปี 2553–2562
หน่วย: 1,000 ไร่
ปี เหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ กลาง ตะวันออก ใต้
2553 167 1,555 107 1,316 11,738
2554 286 2,016 127 1,419 11,912
2555 401 2,439 160 1,516 12,194
2556 455 2,698 182 1,615 12,436
2557 577 2,994 215 1,705 12,668
2558 663 3,752 238 1,722 12,051
2559 745 3,864 241 1,719 11,949
2560 886 4,304 293 1,756 11,868
2561 1,078 4,742 375 1,845 11,983
2562 1,202 4,960 396 1,826 12,072
อัตราการเติบโต (ร้อยละ) 21.87 13.28 15.18 3.53 -0.01
ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562)