Page 195 - rambutan
P. 195

4-5





                  สภาพแวดล้อมในด้านต่าง ๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปนเปื้อนของสารเคมีลงสู่ดินและแหล่งน ้าตามธรรมชาติ

                  นอกจากนี้ปุ๋ ยชีวภาพยังช่วยในเรื่องของการปรับสภาพโครงสร้างของดินให้ดีขึ้นอีกด้วย

                      - สนับสนุนด้านการกระจายน ้าในแปลงปลูกอย่างครบวงจรหรือสร้างแหล่งน ้าขนาดเล็กทั้งนี้

                  เพื่อให้มีน ้าตรงกับความต้องการกับช่วงการเจริญเติบโตของต้นและผลเงาะ โดยเฉพาะพื้นที่ในเขตนี้
                  บางบริเวณมีดินค่อนข้างเป็นทรายส่งผลต่อความสามารถในการอุ้มน ้าของดินต ่า ซึ่งมีโอกาสเสี่ยงต่อการขาด

                  แคลนน ้าเป็นอย่างยิ่ง

                      เขตความเหมาะสมน้อย ใช้สัญลักษณ์ Z-III
                      เขตนี้เป็นเขตที่ปลูกเงาะในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม (N) ซึ่งการปลูกเงาะในเขตนี้ติดข้อจ ากัดของที่ดิน

                  บางประการที่แก้ไขได้ยาก มีข้อจ ากัดที่แก้ไขหรือปรับปรุงได้ยากมากหรือไม่สามารถแก้ไขได้หาก

                  แก้ไขต้องใช้ทุนสูง แนะน าให้ปรับเปลี่ยนการผลิต หรือปลูกพืชในลักษณะผสมผสาน ดังนั้นรูปแบบ

                  การพัฒนาพื้นที่ในเขตนี้ได้แก่
                      - สนับสนุนการใช้ปุ๋ ย สารปราบศัตรูพืชและวัชพืชในรูปแบบของสารชีวภาพในการปรับปรุง

                  บ ารุงดินแทนสารเคมี เนื่องจากสารเคมีจะตกค้างในดินและแหล่งน ้าตามธรรมชาติ ท าให้ส่งผล

                  กระทบต่อสภาพแวดล้อมในด้านต่าง ๆ ดินเกิดความเสื่อมโทรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปนเปื้อนของ
                  สารเคมีลงสู่ดินและแหล่งน ้าตามธรรมชาติ นอกจากนี้ปุ๋ ยชีวภาพยังช่วยในเรื่องของการปรับสภาพโครงสร้าง

                  ของดินให้ดีขึ้นอีกด้วย

                      - สนับสนุนด้านการกระจายน ้าในแปลงปลูกอย่างครบวงจรหรือสร้างแหล่งน ้าขนาดเล็กในพื้นที่
                  ปลูกให้ตรงกับความต้องการกับช่วงการเจริญเติบโตและการติดดอกติดผลของเงาะ

                      - ใส่ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ส่งเสริมการใช้ปุ๋ ยชีวภาพเพื่อช่วยในส่วนของการปรับสภาพโครงสร้าง

                  ของดินให้มีโครงสร้างที่ดีและลดต้นทุนการผลิต


                  4.4  มาตรการด าเนินงานพัฒนาพืชเศรษฐกิจเงาะ
                        รูปแบบการพัฒนาพื้นที่เป็นแนวทางหนึ่งของการจัดการพื้นที่ในแต่ละเขตการใช้ที่ดินที่ได้

                  จัดท าขึ้น เนื่องจากในแต่ละเขตมีจุดแข็ง จุดอ่อน ทางกายภาพ เศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกันจากผล

                  การศึกษาพบว่า เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะแบ่งได้เป็น 3 เขตการใช้ที่ดิน คือ เหมาะสมมาก เหมาะสม
                  ปานกลาง และเหมาะสมน้อย เขตการใช้ที่ดินดังกล่าวน าไปสู่การก าหนดรูปแบบการพัฒนาพื้นที่ใน

                  แต่ละเขตการใช้ที่ดินอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งรูปแบบการพัฒนาพื้นที่ของพืชเศรษฐกิจเงาะมีรายละเอียดดังนี้
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200